พระรอด
เข้าสู่ระบบ | สมัครสมาชิก

พระรอดพิมพ์ใหญ่ 40 พิมพ์

เผยแพร่เมื่อวันที่ : 17 กรกฏาคม 2554
อ่าน :: 539,263 ครั้ง

พระรอดพิมพ์ใหญ่ 40 พิมพ์  ในการเปิดเผยของพระญาณชุมพล อดีตเจ้าอาวาสวัดมหาวัน และ คุณกิ่งกาญจน์  รุนรักษา( หลาน) ( พ.ศ 2494-2532 ) การนี้ไปตรงกับการให้การของน้อยหมา (คุณตานายบอล ) ส.ต.อ. อ้าย แก้วศรี การสัมภาษณ์ ของหนานแดง แก้วตา  ช่างน้อย/ช่างแอ๊ด/ช่างเสริฐ /ช่างแก้ว /ลุงมา / ลุงทอง /ลุงติ๊บ (  หลังวัดศรีโพธิ์ ฯสารภี คนขุดพระรอด ) ในการสอบสวนและการสัมภาษณ์ ปรากฏว่ามีมากกว่า 40 พิมพ์ ดังจะได้นำเสนอในเวปไซด์ พระรอดดอทคอม ( pra rod .com  ) เวป แห่งเดียวเท่านั้นที่ ขยายผลเรื่องการศึกษาวิจัยพระรอดอย่างกว้างขวาง เพื่อทำผลงานทาง วิชาการ Phd ชนิดเจาะลึก ทั้งพยานบุคคลพยานวัตถุภาพพระรอดที่นำเสนอนี้ ได้รับความเอื้อเฟื้อภาพจาก ช่างแก้ว /และตระกูลแก้วศรี /ตระกลูน้อยหมา/ผู้ใหญ่บ้านริมปิง/ช่างน้อย/ช่างแก้ว/หนานแดง  

จำนวนพระรอดที่ค้นพบ

       โบราณวิจารณ์ จากประสพการณ์เรื่องการอ่านหนังสือการศึกษาข้อมูล การลงภาคสนามการพบปะคนขุดพระรอด มีทั้งความจริงและความเท็จดังยกตัวอย่างข้อผิดพลาดเรื่องพระรอดดังต่อไปนี้

  1. เรื่องประวัติพระนางจามเทวี ว่าพระนางจามเทวีล่องแพทวนกระแสน้ำแม่ปิงขึ้นมาตั้งอาณาจักร์หริภุญไชย เพื่อเป็นการขยายอาณาจักร์ความจริงเป็นไปไม้ได้ จริงแล้วท่านเดินทางมาทางบกพร้อมขบวนช้างม้าเสนาอำมาตย์ พร้อมชาวเจ้าอย่างละ 500 ได้แก่พระฤาษี /พราหม์/นักบวช  เพื่อมาสร้างบ้านแปงเมือง ถ้าเสด็จทางน้ำจะบบรจุคนลงแพได้กี่คนและกี่เที่ยว? และจะใช้เวลานานเท่าไร? 
  2. พระนางจามเทวีกำเนิดมาจากดอกบัวและฤาษีนำมาชุบเลี้ยงก็เป็นไปไม่ได้ ในทางวิทยาศาสตร์ และทางธรรมชาติวิทยา /ในทางประวัติศาสตร์  ความจริงแล้วพระนางจามเทวีเป็นธิดาของกษัตริย์ละโว้ (ลพบุรี) มีความสัมพันธ์พระประยูรญาติกับพระไชยวรมันกษัตริย์เขมร ดังพยานวัตุถุที่ค้นพบในวัดจามเทวี และที่วัดมหาวันพระดินเผาเป็นศิลปะเชิงช่างของเขมร ดูจากประวัติศาสตร์นั้นครองครองแผ่นดินนนี้มาก่องตั้งแต่สมัยพระร่วงเจ้าขุนศรีอินทราทิคย์ /พระเจ้ารามคำแหง/พระยาลิไทย/
  3. พระเปิมภาษาเหนือแปลว่าแบน ไม่ใช่ปรมพรหมแต่อย่างใด ความจริงท่านตรียมปวายศึกษาเรื่องธรรมะจึงนำไปเปรียบเทียบชื่อพระ ความจริงแล้วชื่อพระเรียกตามภาษาเหนือลำพูนเชียงใหม่ เปิม แปลว่าแบน
  4. เรื่องพระคงดำยิ่งตลกขำกลิ้ง บอกว่าพระคงที่ดำนั้นเพราะว่ากระจายอยู่บนดิน สาเหตุที่เป็นสีดำเพราะเกิดจาการเผาป่า แล้วทำให้พระคงเป็นสีดำ  ซึ่งความเป็นจริงพระคงดำอยู่ในดินอยู่ในกรุ พระคงดำทำจากเนื้อดินผสมว่านไพลดำ/ว่านงูและนำไปแช่ในน้ำมะเกลือ และน้ำอมฤต 1 พรรษาเนื้อพระจึงมีสีดำ จากการ osmosi แยกสีออกเป็นโซนสี ไปอีกว่าดำ เทา( สีมอย )ดำน้ำตาลพระคงดำสนิดสีนิลแพงที่สุด ราคาเท่าพระรอดพิมพ์ใหญ่ หรือที่เรียกว่าลำพูนดำประสพการณ์ในด้าน คงกระพันคลาดแคล้วเป็นเลิศ    ( นอกจากนี้ ยังมีพระดำชนิดอื่นๆที่สร้างโดยพระฤาษี ตามแผ่นบันทึกในในรานทองและรานเงิน ถือว่าเป็นสูตรมาตรฐานในการสร้างพระดำ จากพระซุ้มกอ จังหวัดกำแพงเพชร พระนางพญาดำ จังหวัดพิษณุโลก พระผงสุพรรณดำ จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นต้น หาใช้เกิดจาการเผาป่าไม่   นักเขียนคงจะนั่งเทียนเขียน  )
  5. เรื่องจำนวนพระรอดนั้นเพ้อฝันไปต่างๆนาๆว่าเปืดกรุ ปี พ.ศ.2498 นั้น พ.ศ.นี้  มีพระรอดแค่หลัก ร้อยเพราะเป็นพระรอดที่กระจายอยู่ทั่วไปในบริเวณวัดมหาวัน ซึ่งในอดีตเป็นวัดร้างมาก่อน    สรุปพระรอดพบมากในสมัยพระณาณชุมพลเจ่าอาวาสวัดมหาวัน ปี 2494 -2532 .ในสมัยที่พระญาณชุมพลท่านได้มีการก่อสร้างในวัดมหาวันดังนี้ ปี 2495 ก่อสร้างบูรณะพระเจดีย์ ปี 2500 สร้ากุฏิขึ้นมา 3 หลัง  ปี 2507 ได้ก่อสร้างพระอุโบสถ ปี 2526 สร้างกำแพง ปี 2515 สร้างหอระฆัง ปี 2527 สร้างห้องสมุด   จากประวัติการก่อสร้างสมัยพระญาณชุมพลที่มีการก่อสร้างหลายครั้งหลายแห่งในวัดนี้เองที่ทำให้กุล่มช่างเช่น ช่างน้อย/ช่างแอ๊ด/ช่างแก้ว/ช่างเสริฐ ได้ร่วมพัฒนาวัดมหาวันและได้พระรอดไปครอบครองคนละหลายร้อยองค์  และปิดเงียบเป็นความลับไม่กล้าเปิดเผยให้ใครทราบเพราะเป็นความผิดในแง่กฏหมาย กลัวความผิดและทางการเรียกคืนถ้าจะมีพระ กระจายบ้างให้แฝงพระหน้าวัดมหาวันแต่องค์สวยลุงหมื่นคัดไว้แล้ว     จากความเป็นจริงการค้นพบพระรอดมักจะอยุ่รวมกันบรรจุในหม้อดินเผา หรือคนโท จาการค้นพบพระรอดของกลุ่มช่าง บางกลุ่มพบในหม้อหลายพันองค์ เช่นการค้นพบพระรอดที่บริเวณหน้าวัดจามเทวีในการสร้างศาลาเอสเอ็มแอล  1 หม้อขนมจีนของชาวล้านนา มีขนาดใหญ่ยกคนเดียวเกือบไม่ไหว เป็นต้นนี้เป็นแค่ตัวอย่างเดียวเท่านั้นที่ไม่ทราบอีกมากมาย  มาถึงตรงนี้ท่านคงจะตาสว่างได้แล้วนะครับพระรอดวัดมหาวันนั้นมีจำนวนมาก /ไม่ต้องไปเล่นพระเกจิหรือพระอุโมงค์ ให้เสียเวลาเล่นพระที่มีอนาคตพระกรุดูพิจารณาธรรมชาติความเก่าแล้วชวนติดตาม
  6. จาการบอกเล่าภูมิปัญญาชาวบ้าน   หนานแดง แก้วตา สมัยเป็นเณรได้บอกว่าวัดมหาวันได้มีการสร้างเจดีย์ใหม่ได้ค้นพนพระรอดพระดินเผาพระยืนพระพุทธรูปจำนวนมากและได้บรรจุใส่ล้อ(เกวียน) ไปบรรจุเจดีย์ที่วัดพระยืน ช่วงนี้เป็นช่วงที่พระรอดรั่วไหลกระจายมากที่สุด  คาดว่ามีพระรอดไม่ต่ำกว่า 10,000 องค์ในฐานเจดีย์องค์เก่า ( ข้อมูลนี้ตรงในพศ2495 พระญาณชุมพล ได้บูรณะพระเจดีย์  )พระรอดจึงกระจายไปตามกลุ่มต่างๆดังนี้  กลุ่มน้อยหมา(ซึ่งขณะนั้นบวชที่วัดมหาวันพอดี)/กลุ่มลุงมา/กลุ่มน้อยแสง /กลุ่มพระญาณ ชุมพล อดีดเจ้าอาวาสวัดมหาวัน/กลุ่มครูบากองแก้ว /กลุ่มเณร เบี้ยว พระบางรูปได้นำพระรอดบรรจุในคนโทไปฝั่งในเขตวัดต่อมามีผู้คนไปขุดพบเรียกพระรอดขุดนี่ว่ากรุน้ำต้น พระชุดนี้ช่างเสริฐค้นพบปนอยู่กับพระรอดพิมพ์ใหญ่ แสดงว่าพระรอดกรุน้ำต้นนั้นได้สร้างในยุคเดียวกันจากหลักฐานพยานที่ค้นพบ  ส่วนกลุ่มคนงานก็กระจายออกไปบ้างก็นำไปขายให้โกหยวนบ้างคุณเชียร ธีรศาสน์บ้าง คุณบุญเสริม ศรีภิรมย์บ้างพระคุณบุญเสริมสะสมเป็นพระรอดสวยจึงถูกพรรคพวกอิจฉา ในกลุ่มนักเล่นพระรอด  ดังรูปพระรอดพิมพ์เครื่องราชฯ ที่อยู่บนหน้าปกหนังสือสมบัติผลัดกันชม ( พิมพ์นี้ไปตรงกับพระรอดที่ช่างแก้วค้นพบทั้งเนื้อหาสาระและพิมพ์ทรง  )นี่คือยุคแรกของการค้นพบพระรอดที่ได้จำนวนมาก ประวัติจำนวนพระรอดที่ค้นพบในหนังสือข้อครงข้ามและตำราคงลอกกันมาเรื่อ่ยๆ หรือมีความประสงค์เพื่อการอื่น
  7.  กลุ่มช่างก่อสร้าง ที่ได้เข้ามาปรับปรุงภูมิทัศน์ภายในวัดอันได้แก่กลุ่มช่างดังนั้นการขุดฐานเจดีย์ การสร้างศาลาเอนกประสงค์ในวัดมหาวัน/การสร้างกฏิเจ้าอาวาส/การสร้างหอระฆังโดยช่างแอ๊ดการสร้าง กำแพง ทั้ง 3 ด้าน ของวัดมหาวัน การสร้างหอสมุด การซ่อมแซมถนนข้างวัดมหาวัน (อันเนื่องจากมีการโขมยขุดพระรอดจนทำให้ถนนข้างวัดทรุดพังทลายเทศบาลฯจึงให้ช่างแก้วช่างรับเหมาขุดถนนมาสร้างถนนใหม่จึงพบพระรอดดังกล่าว)ได้พระพระรอดจำนวนมากบรรจุในปล้องไฉนของเจดีย์องค์เก่าดังเดิมที่หักล้มลงมาฝั่งดิน จมอยู่ในหนองน้ำทางทิศตะวันตกของวัดมหาวัน  ลองคิดดูว่าเจดีย์ปล้องไฉนโบราณมีความใหญ่โตขนาดไหน?พระรอดที่บรรจุอยู่ด้านใน พระรอดที่บรรจุอยู่ด้านในมีความสวยงาม พุทธศิลป์สมบูรณ์ อาจารย์อรรคเดช ได้นำเศษพระรอดหักให้อาจารย์เจมส์ ไปทำการวิจัยที่ประเทศสหรัฐอเมริการเป็นพระที่มีความเก่า ถึงยุคการให้กรมทรัพย์ ฯทำการวิจัยฯ ผลออกมาทางวิทยาศาสตร์ได้นำเสนอไปแล้ว  สันนิษฐานเป็นพระรอดถึงยุคพระนางจามเทวี จากการนำพระรอดที่ค้นพบที่หน้าวัดจามเทวีมาเปรียบเทียบเนื้อหาหาสาระและความเก่า และได้ไปทดสอบความเก่าที่ประเทศอเมริกามาแล้ว ว่ามีความเก่าถึงยุค 1,300ปี (ในการสร้างเจดีย์มักจะเอาของเก่าที่มีฤทธิ์มีความศักดิ์สิทธิ์ จะนำบรรจุบนส่วนยอดของเจดีย์)   ความจริงนั้นเข้าใจง่ายเมือถูกค้นพบ

ดังได้แยกกลุ่มที่ค้นพบพระรอดไปหลายกลุ่มในการค้นพบดังนี้

  • กลุ่มช่างน้อย (จุดที่พบพระรอดศาลาเอนกประสงค์)
  • กลุ่มช่างแก้ว (จุดที่พบพระรอดถนนข้างวัด)
  • กลุ่มช่างแอ๊ด (จุดที่พบพระรอดสร้างหอระฆัง)
  • กลุ่มช่างเสริฐ หน้าวัดจามเทวี (จุดที่พบพระรอด ศาลาเอสเอ็มแอล/ท่อน้ำหลังวัดมหาวัน
  • กลุ่มคนงานเทศบาลนครลำพูน
  • กล่มลุงมา หลังวัดพระคง 
  • กลุ่มลุงน้อยแก้ว
  • กลุ่มน้อยหมา (ตานายบอล ลำพูนนายกานต์ ห่วงขาว)
  • กลุ่มอุ๋ยกอ๋ง (ตานายพงษ์หลังวัดมหาวัน)
  • กลุมหนานแสง อินต๊ะแก้ว(ตานายต้อม) 
  • กลุ่มลุงหมื่นบ้านริมปิง

สรุป  พระรอดมีมากที่สุดในกลุ่มช่าง และพระรอดนั้นไม่ได้กระจายมายังแฝงพระด้านล่างเลยจึงล้อพิมพ์รอดขึ้นมา แต่ทำเนื้อพระรอดไม่ได้

(พยานบุคลส่วนใหญ่ยังมีชีวิตอยู่)

 

     จากการดังกล่าว ทำให้ทราบว่าพระรอดนั้นมีหลายพิมพ์ทรงซึ่งจะได้แยกแยะ ออกโดยนักวิชาการที่ได้มาวิจัยค้นคว้า และเห็นพิมพ์พระชนิดเดียวกันมากกว่าสององค์นั้นคือพิมพ์ใหม่ที่เกิดขึ้น ที่อาจารย์อรรคเดช กฤษณะดิลก ได้ทำการแยกพิมพ์ได้ดังต่อไปนี้

 

  1. พระรอดพิมพ์ใหญ่ พิมพ์เครื่องราชฯแยกไป  9   พิมพ์ 
  2. พระรอดพิมพ์ใหญ่อุนาโลม  3  พิมพ์
  3. พระรอดพิมพ์ใหญ่อุนาโลม พิมพ์ ส.เสือ  
  4. พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์ ( พิมพ์ ส.เสือ ) 
  5. พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์โพธิ์ฉีก 
  6. พระรอดพิมพ์ใหญ่ (พิมพ์เสื้ยนไม้   2 พิมพ์ )
  7. พระรอดพิมพ์ใหญ่สังฆาฎิคู่ (พิมพ์ จ่าโท)  2 พิมพ์ 
  8. พระรอดพิมพ์ใหญพิมพ์ประภามลฑลรูปใบหอก
  9. พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์ประภามลฑล รูปโค้งมน
  10. พระรอดพิมพ์ใหญ่ พิมพ์บ๊ลอคแตก
  11. พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์แขนมีขีด (ด้านซ้าย)
  12. พระรอดพิมพ์ใหญ่แขนมีขีด(ด้านขวา ) 
  13. พระรอดพิมพ์ให่ญ่ พิมพ์ใหญ่แข็งคม
  14. พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์ตะเข็บข้าง
  15. พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์ คมฃัดลึก แยกไป 3  พิมพ์
  16. พิมพ์ปากสองชั้น
  17. พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์หน้าเทวดา
  18. พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์จมูกย่น
  19. พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์โพธิ์ปรก
  20. พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์ โพธิ์บาง( พิมพ์โพธิ์ตื้น ) 
  21. พระระอดพิมพ์ใหญ่ พิมพ์เศียรโต
  22. พระรอดพิมพ์ใหญ่ พิมพ์มือแตก
  23. พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์เนื้อเกิน
  24. พิมพ์มีคิ้วหรือตาสองชั้น
  25. พิมพ์หัวพริกไทย
  26. พิมพ์หน้าพระสิงห์
  27. พิมพ์คมชัดลึก  4 พิมพ์ 
  28. พิมพืกำไลปล้องแขน หูมีขอ
  29. พิมพ์ปากฉลาม
  30. พิมพ์คิ้วต่อทรงเขมร
  31. พิมพ์ใหญ่พิมพ์เส้นคอ

 

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์เครื่่องราชฯ วัดมหาวัน พิมพ์ที่ 1

 

 

 

  1.  ก้านโพธิ์รูปฝักดาบ
  2. รัศมี
  3. เส้นรัศมี
  4. โพธิ์รูปคมขวาน
  5. ขอเบ็ดเห้นรางๆบางองคืไม่เห็น
  6. เนื้อกินเป็นลักษณะนูนขึ้นมา
  7. ปล้องแขน
  8. เส้นใต้อาสน
  9. เส้นตรงใต้ฐาน
  10. โพธิ์เนื้อเกิน
  11. กลางใบโพธิ์มีลักษณะเป็นแอ่ง
  12. มีจุดไข่ปลา
  13. เส้นรัศมี
  14. แท่งโพธิ์มีลักษณะเป็นเหลี่ยม
  15. รอยครูดที่แก้มซ้าย
  16. เส้นแตกมีลักษณะคล้ายปมถั่ว
  17. ตุ้มหูมีลักษณะสามตุ่มหรือคล้ายสมอเรือ
  18. เครื่องราชฯ
  19. เส้นแตกทางข้อแขนด้านซ้าย
  20. เป็นลักษณะตัว y วายคว่ำ
  21. มีลักษณะคล้ายเท้านกเกาะกิ่งไม้

 

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์เครื่่องราชฯ วัดมหาวัน พิมพ์ที่ 1

 

 

 ด้านหลัง

 

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์เครื่่องราชฯ วัดมหาวัน พิมพ์ที่ 1

 

 

 ระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์เครื่่องราชฯ วัดมหาวัน พิมพ์ที่ 2 ผิวยังไม่เปิด

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์เครื่่องราชฯ วัดมหาวัน พิมพ์ที่ 1

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่ วัดมหาวัน พิมพ์ที่หน้าพระสิงห์  1

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์แม่พระรอด  วัดมหาวัน พิมพ์ที่ 1

 

 

                ก้านโพธิ์รูปฝักดาบ

รัศมี

   เส้นรัศมี

                                                   1 ปีกกว้างอิทธิพลของฤาษีใกล้เคียงพระถ้ำเสือ

              2 โพธิ์รูปคมขวาน

                   3 การวางมือปางสมาธฺ

                                       ขอเบ็ดเห้นรางๆบางองคืไม่เห็น

                                เนื้อกินเป็นลักษณะนูนขึ้นมา

     ปล้องแขน

       4   เส้นผ้าปูรองนั่ง

         5   เส้นตรงใต้ฐาน

     6 ฐานมีสามชั้น

       7  โพธิ์เนื้อเกิน

          8 รูปโพธิ์ขอเบ็ด

                                    กลางใบโพธิ์มีลักษณะเป็นแอ่ง

        มีจุดไข่ปลา

     เส้นรัศมี

                                    แท่งโพธิ์มีลักษณะเป็นเหลี่ยม

                     10 รอยครูดที่แก้มซ้าย

                                 เส้นแตกมีลักษณะคล้ายปมถั่ว

                                                   ตุ้มหูมีลักษณะสามตุ่มหรือคล้ายสมอเรือ

                                  11  เส้นแตกทางข้อแขนด้านซ้าย

                          12   เป็นลักษณะตัว y วายคว่ำ

                                    13 มีลักษณะคล้ายเท้านกเกาะกิ่งไม้

14 ฐานพับ

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์คมชัดลึก วัดมหาวัน พิมพ์ที่ 1

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์นิ้วเกินวัดมหาวัน พิมพ์ที่ 1

 

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์เนื้อเกิน วัดมหาวัน พิมพ์ที่ 1

  

             1  เส้นรัศมี

               2 เส้นบังคับพิมพ์

              3 โพธิ์รูคมขวาน       

                4  เนื้อกินเป็นลักษณะนูนขึ้นมา

 

                  5 เส้นใต้อาสน

                    6   เส้นตรงใต้ฐาน

                    7 ฐานสามชั้น

                    8 โพธิ์เนื้อเกิน

                      9 ก้านโพธิ์รูปฝักดาบ                

                    10  มีจุดไข่ปลา

                   11 รอยแตกข้างหู            

                     12 รอยครูดที่แก้มซ้าย

                      13 มีเนื้อเกินที่พระอุระ

                      14 มีลักษณะเป็นแอ่งคล้ายขนมครก 

                     15 เส้นน้ำตกใต้แขน                                                                       

                      16เป็นลักษณะตัว y วายคว่ำ

                      17 มีลักษณะคล้ายเท้านกเกาะกิ่งไม้

                      18 ฐานพับ

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่ วัดมหาวัน (พิมพ์ที่ ไหล่ขีดบริเวณหัวไหล่ด้านขวา)

 

พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์ทรงล่ำหูขอเบ็ด วัดมหาวัน พิมพ์ที่ 1

 

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์เทวดาแข็งจุด วัดมหาวัน พิมพ์ที่ 1

 

 

   

1  รัศมี 

                 2  โพธิ์รูปคมขวาน

                      3 ปาจู๋คล้ายปลากัด

                                       4    เนื้อกินเป็นลักษณะนูนขึ้นมา

                   5 เส้นแขนด้านใน

                6 หัวแม่มือบาก

             7 เส้นใต้อาสน

                  8 เส้นตรงใต้ฐาน

              9  ฐานสามชั้น

                10 โพธิ์เนื้อเกิน

                                      11 ตาด้านซ้ายสูงกว่าด้านขวา

                          12 มีรูหูคล้ายหูมนุษย์

                                         13 หูคล้ายขอเบ็ดตวัดเข้าด้านใน

                        14 เส้นน้ำตกใต้แขน

                                           15 เส้นน้ำตกมีลักษณะตัววายควำ

                                                   16  มีลักษณะคล้ายเท้านกเกาะกิ่งไม้

               17 ฐานพับ

 

 

 

 

พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์เทวดาแข็งจุด วัดมหาวัน พิมพ์ที่ 1

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์ก้นแมงสาป วัดมหาวัน 

 

 

 

 

 

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์แขนมีขีด วัดมหาวัน 

 

 

  พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์เครื่่องราชฯ วัดมหาวัน พิมพ์ที่ 1

 

 

 

  พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์เครื่่องราชฯ วัดมหาวัน พิมพ์ที่ 1

 

 

  พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์เครื่่องราชฯ วัดมหาวัน พิมพ์ที่ 2 ( ไม่มีปล้องแขน )

 

 

  พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์เครื่่องราชฯ วัดมหาวัน พิมพ์ที่ 1

 

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์เทวดาแข็งจุด วัดมหาวัน พิมพ์ที่ 1

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์เครื่่องราชฯ วัดมหาวัน พิมพ์ที่ 4 หูตรง

 

พระรอดพิมพ์ต้อ หน้ากุมารทอง วัดมหาวัน พิมพ์ที่ 1

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวันพิมพ์หน้าเทวดา

 

  พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์หน้าพระสิงห์ วัดมหาวัน

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์หน้าพระสิงห์1  วัดมหาวัน

 

 

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์  วัดมหาวัน พิมพ์ ส.เสือ ( ที่ปล้องแขน)

 

 

 ประภามลฑลโค้งมน   พระรอดพิมพ์ใหญ่ วัดมหาวัน พิมพ์ ส.เสือ

 

 

 

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์วัดมหาวัน พิมพ์เครื่องราช 3

 

 ใบโพธิ์ฉีก    พระรอดพิมพ์ใหญ่ วัดมหาวัน พิมพ์โพธิ์ฉีก

 

 

 

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์หน้าพระสิงห์ วัดมหาวัน

 

 

 พิมพ์ตะเข็บข้างให้เห็ชัดขึ้นในแขนด้านขวาองค์พระ

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์หน้าเทวดาแข็งจุด วัดมหาวัน พิมพ์ที่ 1

 

พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์ วัดมหาวัน (พิมพ์ เส้นคอ)

 )

 

 

 คมชัดลึก  พระรอดพิมพ์ใหญ่ วัดมหาวัน (พิมพ์คมชัดลึก)

 

 

 

 

     พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน (พิมพ์มือซ้อน)

 

 พิมพ์เส้นคอ    พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน พิมพ์เส้นคอ

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์ผมหวีทรงเขมร วัดมหาวัน พิมพ์ที่ 1

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์เครื่่องราชฯ วัดมหาวัน พิมพ์ที่ -3

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน พิมพ์จมูกย่น

 

 

 พิมพ์ไหล่ขีด    พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน พิมพ์ไหล่ขีด

 

 

 พระรอดวัดมหาวันพิมพ์ใหญ่ พิมพ์ปล้องแขน วัดมหาวัน 

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์เครื่่องราชฯ วัดมหาวัน พิมพ์ที่ 1

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์เครื่่องราชฯ วัดมหาวัน พิมพ์ที่ 1 หูมีตุ้ม3

 

พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์ปล้องแขน วัดมหาวัน พิมพ์ที่ 1

 

 พิมพืเนื้อเกิน

 พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน พิมพ์อกเนื้อเกิน

 

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์หน้าพระสิงห์ วัดมหาวัน พิมพ์ที่ 1

 

 ประภามลฑลโค้งมล

 พระรอดพิมพ์ใหญ่ วัดมหาวัน

 พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน พิมพ์เครื่องราช ฯ  1

 

 

 พิมพ์โพธิ์เหลี่ยม มีปีก

 พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน พิมพ์โพธิ์เหลี่ยม

 

พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัพิมพ์ ตะเข็บข้าง

 

พิมพ์ใหญ่ชนิด หน้าเทวดาแข็งจุด

 

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน พิมพ์ไหล่ยก

 

 

 

 

 

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน หูขอเบ็ด  

 

 

 พิมพ์หน้าพระสิงห์

 

 ทรงล่ำ 2 องค์พระดูล่ำสันกว่าพิมพ์อื่นๆ

 

 พิมพ์หู2  ขีดหูด้านซ้ายองค์พระติ่งหูมีสองขีด

 

 คมชัดลึก3 มีลักษณะโพธิ์คมชัดลึกกว่าพิมพ์อิ่นๆสันนิษฐานเป็นยุคต้นๆ

 

 ตะเข็บข้าง  ด้านขวาองค์พระมีลักษณะเป็นตะเข้บยาว

 

 ทรงล่ำหน้าพระสิงห์

 

 บล๊อคแตกที่ปีกพระด้านขวาองค์พระ

 

 เทวดาแข้งลายหูมีรู

 

 พิมพ์ส.เสือ มีรูปส เสือที่ปล้องแขนด้านว้ายองค์พระ

 

 พิมพ์โพธิ์ฉีก

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 เทวดาแข็งลาย

 

 พิมพ์มือซ้อน

 

 พิมพ์หลังค่อม

 

 

 

 

 

 

 

 เทวดาแข็งลาย

 

 คมชัดลึก 3

 

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน โพธิ์เหลี่ยม มีปีก 

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์พิมพ์ปล๊อคแตก วัดมหาวัน พิมพ์ที่ 1

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์คอเอียง วัดมหาวัน พิมพ์ที่ 1

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์ทรงล่ำ วัดมหาวัน พิมพ์ที่ 1

 

 

  1. เส้นรัศมี
  2. รูปโพธิคมขวาน
  3. ตุ้มหูมีขอเบ็ดรางๆ
  4. เส้นแซมใต้แขน
  5. หังแม่มือมีรอยสับ
  6. เส้นใต้ฐานมีลักษณะเป็นเส้นครง
  7. ฐานพัยยื่นออกมา
  8. โพธิ์เป็นเนื้อเกินยื่นออกมา
  9. โพธิ์ขอเบ็ด
  10. มีเม็ดกลมคล้ายไข่ปลา
  11. ตาด้าน.ซ้ายสูงกว่าด้านขวาองค์พระ
  12. เส้นแตกข้างหู
  13. มีลักษณะเป็นขอเบ็ด
  14. มีลักษณะเหมือนเบ้าขนมครก
  15. เส้นน้ำตกใต้แขน
  16. มีลักษณะเหมือนปลายพู่กัน
  17. เส้นน้ำตกเหมือนตัวy ค่วำหัว
  18. มีลักษณะกล้าเท้านกเกะกิ่งไม้
  19. มีฐานสามขั้น
  20.  

 พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน พิมพ์หน้าเทวดา  

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน

 

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน

 

  พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์เครื่่องราชฯ วัดมหาวัน พิมพ์ที่ 6

 

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน พิมพ์เศียรโต

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวันพิมพ์สังฆาฏิคู่ (จ่าโท)

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวันพิมพืสังฆาฎิคู่ (พิมพ์จ่าโท)

 

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวันพิมพ์เส้นคอหูขอเบ็ด

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน พิมพ์ประภามลฑลโค้งมล ทรงชะลูด 

 

 

พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน 

พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน

 

 

 

พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน

 

พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน

 

พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวันพิมพ์เครื่องราชฯ ทรงล่ำ

 

 

 

พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน

 

พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน

 

พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน

 

 

พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน 

 

 

พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน 

 

พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน

 

 

พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน

 

 

พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน 

 

 

พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน

 

 

พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน

 

 

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน ทรงต้อ

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน พิมพ์จมูกย่น ปากฉลาม

 

 

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน

 

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน พิมพ์ส.เสือ

 

 

พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน  พิมพ์ปล้องแขน

 

พระรอดพิมพ์กลาง แบ่งออกเป็นพิมพ์ต่างๆดังนี้

  1. พิมพ์ข้างเม็ด
  2. พิมพ์จันทร์เสี้ยว
  3. พิมพ์ไม่มีข้างเม็ด

 

 

 

พระรอดพิมพ์เล็กแยกออกเป็นหลายพิมพ์ดังนี้

  1. พิมพ์ทรงระฆัง
  2. พิมพ์หน้าหาย
  3. พิมพ์หน้าหล่อ
  4. พิมพ์คอเอียง
  5. พิมพ์หน้าจีน
  6. พิมพ์ทรงล่ำ

 

 พระรอดวัดมหาวันพิมพ์เล็ก

 

 พระรอดวัดมหาวันพิมพ์เล็ก

 

 พระรอดวัดมหาวันพิมพ์เล็ก

 

 พระรอดวัดมหาวันพิมพ์เล็ก

 

 พระรอดวัดมหาวันพิมพ์เล็ก

 

พระรอดพิมพ์ตื้นนั้นแยกออกเป็นหลายพิมพ์ดังนี้

  1. พิมพ์เส้นคอ
  2. พิมพ์ไม่มีเส้นคอ
  3. พิมพ์ตัวหนอน 2 ตัว
  4. พิมพ์ไม่มีตัวหนอน
  5. พิมพ์คอเอียง
  6. พิมพ์ปางบำเพ็ญทุกขกิริยา (ค้นพบบริเวณหน้าวัดจามเทวี)
  7.  

 พระรอดวัดมหาวันพิมพ์ตื้น

 

 พระรอดวัดมหาวันพิมพ์ตื้น

 

 

พระรอดพิมพ์ตื้นแยกออกเป็นหลายพิมพ์ดังนี้

  1. พิมพ์หน้ากุมาร
  2. พิมพ์โพธิ์แท่ง
  3. พิมพ์อกแอ่น
  4. พิมพ์หน้าใหญ่
  5. พิมพ์โพธิ์ตื้น

 

 

 พระรอดวัดมหาวันพิมพ์ต้อ

 

 

 

 

 

 

 พระรอดวัดมหาวันพิมพ์ต้อ

 

 

 

 พระรอดวัดมหาวันพิมพ์ต้อ

 

 

 พระรอดวัดมหาวันพิมพ์ต้อ