พระรอด
เข้าสู่ระบบ | สมัครสมาชิก

พระรอดกรุเก่า

เผยแพร่เมื่อวันที่ : 2 ธันวาคม 2553
อ่าน :: 49,988 ครั้ง

พระรอดกรุเก่า คือ พระรอดที่มีอายุ 1,300 ปี สร้างในสมัยพระนางจามเทวี และพระรอดที่สร้างโดยพระย่าสรรพสิทธิ์ พระรอดกรุเก่าคือพระรอดที่ผ่านการใช้ ผ่านการเสียดสี/รอยสึกจาการใช้ ช่วงหนึ่งของชีวิตคน / ขาดหลักฐานทางธรรมชาติ เช่นคราบกรุดินนวล แยกออกเป็นประเภทดังนี้

1. พระรอดที่ผ่านการใช้ ใน สมัยก่อนนำพระไปใช้มักจะทำถุงเล็กๆพกติดตัว หรือถักด้วยเชือกหรือลวดพระจึงสึกโดยการใช้ เช่น ผิวด้านนอกสึกหายไปยังมีคราบขี้มือจากการสัมผัส คราบสกปรกจากโลกภายนอกบางคนนิยมอมในปากน้ำหมากเวลาออกศึกสงคราม(คนสมัยก่อนนิยมกินหมาก) บ้างก็นิมใช้ยางไม้โบราณมาทาผิวพระให้เกิดความขลัง

2. การ จงใจ ในกรณีนี้ ภาวะการตลาดเข้ามาแทรก เช่นเซียนชอบพระรอดกรุเก่า ชาวบ้านจึงนิยมนำพระรอดมาทำให้สึกโดยการขัดถูด้วยกระดาษทราย /เจียรด้วยเครื่องมือ การนี้ทำให้สภาพธรรมชาติของพระรอดขาดหายไป เรื่องครากรุ/ดินนวล/คราบแคลเซี่ยม

3. การ ทำให้โครงสร้างพระรอดเปลี่ยนไป เช่นนำพระรอด ที่แต่งผิวเรียบร้อยแล้ว จึงนำไปแช่น้ำยาเคมี หรือน้ำมันเครื่องเพื่อจะให้เนื้อพระรอดหนึกนุ่ม นำพระรอดไปทำคราบสนิมปลอม ซึ่งของแท้เป็นพระที่อยู่ในหินศิลาแลงซึ่งได้ชี้แจงไปแล้ว  

พระรอดกรุเก่ามี 3 ประเภท ดังนี้

1. ประเภทสวยดูง่ายหมายความว่า พระถูกใช้ถูกสัมผัสจากส่วนของร่ายกายเช่นการถูกเหงื่อไคลแต่ยังคงความเป็น ธรรมชาติให้เห็น เช่นคราบกรุ/ดินนวล/สนิมไขสนิมขาว การใช้จะทำให้ผิวพระจะหนึกนุ่มสวยงามทางภาษาเซียนว่าพระดูง่าย

2. ประเภทแท้แต่ดูยาก หมายความว่าพระรอดที่ถูกใช้งานจนสึกเหลือแต่แก่นสารการนี้ สภาพทางธรรมชาติอาจจะถูกทำลายจนหมดสิ้นเช่นคราบกรุ/ดินนวล/คราบสนิมไข/ทาง ภาษาเซียนเรียกว่าพระดูยากและทางโบราณคดีอีกด้วย

3. ประเภทพระฝีมือ หมายความว่านำพระฝีมือมาตกแต่งผิวเช่นพระ นำมาขัดผิว แช่น้ำยาทางวิทยาศาสตร์ การนี้ก็ไม่ผ่านการพิจารณาจากผู้รู้ที่เคยเห็นของแท้ ที่ทำไม่ได้คือเรื่องโซนเนื้อพระรอด/มวลสาร/คราบธรรมชาติ มีผู้ได้นำพระรอดดังกล่าวมาตรวจเช็คก็ไม่ผ่านทางสถาบันพระเครื่องพระบูชาไทย แต่อยางใด? เพราะทางสถาบันฯได้ทำเวอร์คช๊อป/วิจัยโดยตรงเรื่องพระรอด/พระคงเป็นอย่างดี

 

 

 

 พระรอดวัดมหาวันพิมพ์ใหญ่  (กรุเก่า)

 

 

 พระรอดวัดมหาวันพิมพ์เล็ก  (กรุเก่า)

 

 

 

 

 พระรอดวัดมหาวันพิมพ์ใหญ่  (กรุเก่า)

 

 พระรอดวัดมหาวันพิมพ์เล็ก  (กรุเก่า)

 

 พระรอดวัดมหาวันพิมพ์ต้อ  (กรุเก่า)

 

ชื่อพระ   พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน กรุเก่า
ประวัติเป็นกรุของลุงสม บ้านริมปิง สภาพผ่านการใช้ถูกสัมผัสจากการใช้
จึงทำให้สีพระเปลี่ยนไป
เพราะความหนึกของเงื่อไคล


พระรอดพิมพ์ใหญ่คมชัดลึก

เป็นพระรอดกรุเก่าประเภทที่ 1 คือคงสภาพธรรมชาติไว้เช่นคราบกรุ/ดินนวล/คราบแคลเซี่ยม ผิวพระมีความหนึกนุ่มเนื่องจากผ่านการใช้และการสัมผัส ที่มา ประวัติพระ( story ) เป็นพระเก่าของผู้ใหญ่บ้านบ้านริมปิง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน พิสูจน์คราบเก่าโดยการแช่น้ำ ปรากฏว่าคราบธรรมชาติไม่หลุดส่วนพระใหม่ทำขึ้นคราบจะหลุดหมด



ด้านหลังพระอดพิมพ์ใหญ่คมชัดลึก

ด้านหลังพระรอดกรุเก่า การสังเกตุลายมือใหญ่ และเฉียงขี้น


พระรอดพิมพ์ใหญ่คมชัดลึก
ชื่อพระ   พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน พิมพ์คมชัดลึก(พิมพ์อุ้ยสุก)ค้นพบตั้งชื่อโดยอ.อรรคเดช พิมพ์นี้สวยมากข่มทุกๆพิมพ์ที่ค้นพบก่อนหน้านี้ 
ประวัติพระ เป็นพระของหนานสุกอดีตกรรมการวัดมหาวัน เป็นผู้ค้นพบพระรอดพิมพ์นี้
จัดเป็นพระรอดพิมพ์ใหญ่ที่มีคมชัดลึกของพิมพ์พระ

 

พระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์เทวดา
 

ชื่อพระ   พระรอดพิมพ์ใหญ่ (พิมพ์หน้าเทวดา) ค้นพบและตั้งชื่อโดยอาจารย์ อรรคเดชฯ
ประวัติพระเป็นพระรอดของน้อยหมา วัดมหาวัน ต่อมาเปลี่ยนมือผ่านการใช้มาบ้างเนื่องจากพระองค์นี้ฝังอยู่ในระดับลึกพระ รอดจึงปรากฏคราบกรุ
มีเพียงคราบน้ำ้ฮากและแคลเซี่ยม


ด้านหลังพระรอดพิมพ์ทรงเทวดา

 

พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวันพิมพ์เทวดาแข็งลาย

 

พระรอดพิมพ์ใหญ่ พิมพ์จ่าโท(สังฆาฎิคู่ (กรุเก่า

 

พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน

 

พระรอดพิมพ์ใหญ่ พิมพ์เครื่องราชฯ
ประวัติพระ ค้นพบโดยช่างแก้ว ช่างรับเหมาขุดซ่อมถนนข้างวัดมหาวัน
เน้อพระสภาพตาม ธรรมชาติ การขยายตัวของโมเลกุลในเนื่อพระี เป็นเม็ดผด
คล้ายหนังปลากระเบน

 

พิมพ์ใหญ่เครื่งราช

พระรอดพิมพ์ใหญ่ พิมพ์เครื่องราชฯ
ประวัติพระ ค้นพบโดยช่างแก้ว ช่างรับเหมาขุดซ่อมถนนข้างวัดมหาวัน
เน้อพระสภาพตาม ธรรมชาติ การขยายตัวของโมเลกุลในเนื่อพระี เป็นเม็ดผด
คล้ายหนังปลากระเบน

 

พระรอดพิมพ์เครื่องราชฯ

พระรอดพิมพ์ใหญ่ พิมพ์เครื่องราชฯ
ประวัติพระ ค้นพบโดยช่างแก้ว ช่างรับเหมาขุดซ่อมถนนข้างวัดมหาวัน
เน้อพระสภาพตาม ธรรมชาติ การขยายตัวของโมเลกุลในเนื่อพระี เป็นเม็ดผด
คล้ายหนังปลากระเบน

 

พระรอดพิมพ์ใหญ่ วัดมหาวัน ประวัติพระค้นพบโดยช่างแก้ว ช่างรับเหมาขุดซ่อมถนนข้างวัดมหาวัน
เน้อพระสภาพตาม ธรรมชาติ การขยายตัวของโมเลกุลในเนื่อพระี เป็นเม็ดผด
คล้ายหนังปลากระเบน

 

 

พระรอดพิมพ์กลาง วัดหาวันประวัติพระ ค้นพบโดยช่างแก้ว ช่างรับเหมาขุดซ่อมถนนข้างวัดมหาวัน
เนื้อพระสภาพตาม ธรรมชาติ การขยายตัวของโมเลกุลในเนื่อพระี เป็นเม็ดผด
คล้ายหนังปลากระเบน

 

 

พระรอดพิมพ์ใหญ่ พิมพ์คมชัดลึก    ประวัติพระ ค้นพบโดยช่างแก้ว ช่างรับเหมาขุดซ่อมถนนข้างวัดมหาวัน
เนื้อพระสภาพตาม ธรรมชาติ การขยายตัวของโมเลกุลในเนื่อพระี เป็นเม็ดผด
คล้ายหนังปลากระเบน

 

พระรอดพิมพ์ใหญ่ (พิมพ์หน้าพระสิงห์ )วัดมหาวันประวัติพระ ค้นพบโดยช่างแก้ว ช่างรับเหมาขุดซ่อมถนนข้างวัดมหาวัน
เนื้อพระสภาพตาม ธรรมชาติ การขยายตัวของโมเลกุลในเนื่อพระี เป็นเม็ดผด
คล้ายหนังปลากระเบน เนื้อพระหนึกนุ่มเกิดจากจาการ osmosi ในดินที่มี Om

 

 

พระรอดพิมพ์ตื้นวัดมหาวันวัน                                                                                                                                                                                                                   ข้อมูลเปรียบเทียบระหว่างพระรอดกรุใหม่กับพระรอดกรุเก่า

พระรอดกรุใหม่

1. คราบธรรมชาติสมบูรณ์ในพระรอดกรุใหม่เช่นคราบกรุ/ดินนวล/คราบแคลเซี่ยม/คราบสนิมไข

2. ความคมชัดของพิมพ์พระ หมายถึงความคมชัดของที่เครื่องมือเครื่องมาร์คต่างๆบนพิมพ์พระ รอยครูดในองค์พระรอดจุดสำคัญในพิมพ์พระรอดมีอยู่ครบสมบูรณ์

3. ความสวยงามทางพุทธศิลป์ หมายความว่าได้มองเห็นสุนทรียภาพอันสมบูรณ์ของศิลปะในเชิงช่างศิลป์ในยุคนั้นๆ

4. ความสมบูรณ์ทางสุนทรียภาพทางธรรมชาติ เรื่องการเปลี่ยนแปลงทางวิทยาศาสตร์ /โครงสร้างโมเลกุลของเนื้อพระ( molecule ) /ความแห้งของเนื้อพระ( dry )/การขยายตัวของเนื้อพระ จนทำให้เกิดเม็ดผด /ผิวปลากระเบน/ รอยผดในร่องลายนิ้ว

5. ความเป็นการอนุรักษ์ หมายถึงความอนุรักษ์ทางด้านโบราณคดี

โบราณวิจารณ์

สรุป ได้ว่าพระรอดกรุใหม่นั้นสามารถนำพิสูจน์ได้ง่ายกว่าพระรอดกรุเก่า ทั้งทางวิทยาศาสตร์ /ทางศิลปะ/ ทางประวัติศาสตร์/ทางโบราณคดีส่วนพระรอดกรุเก่าเพียงสนองความต้องการของคน กลุ่มหนึ่งเท่านั้นและนิยมกัน ชั่วระยะเวลาหนึ่งเท่านั้น