พระรอด
เข้าสู่ระบบ | สมัครสมาชิก

ตำหนิพระรอด

เผยแพร่เมื่อวันที่ : 2 ธันวาคม 2553
อ่าน :: 393,672 ครั้ง

 

 ท่านตรียัปวาย         ได้กำหนดว่าพระรอดนั้น มีพิมพ์ยาวพิมพ์สั้น และก็พิมพ์แบน

  1. พิมพ์ยาว
  2. พิมพ์สั้น
  3. พิมพ์แบน

 

ตำหนิพระรอด

 

จาการค้นพบพระรอดพิมพ์ จำนวน40 จากการให้การของอดีต เจ้าอาวาสวัดมหาวัน ( พระณาณชุมพลว่า พระรอดนั้น มีมากกว่า 40 พิมพ์ ปรากฏว่าพระรอดพิมพ์ใหญ่ทุกพิมพ์มีใบหน้าและตำหนิใกล้เคียงทั้งหมดยกเว้นพระเกจิรุ่นหลัง อันได้แก่  พระรอดครูบากองแก้ว/พระรอดเณรบี้ยว/พระรอดครูบาทึม

 

 

 




พุทธศิลป์พระรอดพิมพ์เครื่องราชพิมพ์ที่ 1 (ไม่มีกำไลปล้องแขน)

 

  1. ก้านโพธิ์คล้ายรูปฝักดาบ
  2. เส้นบังคับพิมพ์
  3. โพธิ์เป็นรูปพีรามิด
  4. เนื้อเกินบนโพธิ์สมมุติ
  5. จุดไข่ปลาใต้โพธิ์ขอเบ็ด
  6. โพธิ์มีลักษณะเป็นเหลี่ยมคม
  7. รอยแตกคล้ายรากปมถั่วลิสง
  8. เครื่องราชฯเป็นรูปช้างจะเห็นขาช้าโผล่ออกมา 2 ขา
  9. ใต้แขนจะมีเส้น
  10. มีลักษณะคล้ายปลายพู่กัน
  11. เส้นนำตก 3 เส้นคล้ายเท้านกเกาะกิ่งไม้
  12. นอกนั้นยัมีข้อปลีกย่อยอย่อื่นๆอีกมาก  เรื่องผิวพระ/ธรรมชาติที่เป็นเอกลักษณ์ที่พระรอดพึงมี

(ที่มาของรูปภาพ พิพิธภัณฑ์พระ อแม่จัน จังหวัดเชียงราย ชื่อองค์งาม)

 

พุทธศิลป์พระรอดพิมพืเครื่องราชฯพิมพ์ที่ 2         (มีกำไลปล้องแขน)

ขยายรูปให้ใหญ่ขึ้นเพื่อจะได้ศึกษาเนื้อพระที่หินแคลเซี่ยมเกาะเนื้อพระเป็นเช่นใด?

  1. โพธิ์มีลักษณะงุ้มมาด้านหน้า
  2. เส้นรัศมี
  3. เส้นบังคับพิมพ์
  4. โพธิ์มีลักษณะเป็นรูปคมขวาน
  5. โพธฺมีเนื้อเกินซ้อนขึ้นมา (เซียนนิยมแต่เป็นรูปสีเหลี่ยม) 
  6. ปล้องกำไลที่แขนขวา
  7. ห้วแม่มือเป็นรอยสับ
  8. มีเส้นเล็กๆวิ่งใต้ฐาน
  9. ก้านโพธิ์มีลักษณะคล้ายฝักดาบ

 

 

 

  1.  ก้านโพธิ์รูปฝักดาบ
  2. รัศมี
  3. เส้นรัศมี
  4. โพธิ์รูปคมขวาน
  5. ขอเบ็ดเห้นรางๆบางองคืไม่เห็น
  6. เนื้อกินเป็นลักษณะนูนขึ้นมา
  7. ปล้องแขน
  8. เส้นใต้อาสน
  9. เส้นตรงใต้ฐาน
  10. โพธิ์เนื้อเกิน
  11. กลางใบโพธิ์มีลักษณะเป็นแอ่ง
  12. มีจุดไข่ปลา
  13. เส้นรัศมี
  14. แท่งโพธิ์มีลักษณะเป็นเหลี่ยม
  15. รอยครูดที่แก้มซ้าย
  16. เส้นแตกมีลักษณะคล้ายปมถั่ว
  17. ตุ้มหูมีลักษณะสามตุ่มหรือคล้ายสมอเรือ
  18. เครื่องราชฯ
  19. เส้นแตกทางข้อแขนด้านซ้าย
  20. เป็นลักษณะตัว y วายคว่ำ
  21. มีลักษณะคล้ายเท้านกเกาะกิ่งไม้

 

  1.  เส้นรัศมี
  2.  เส้นบังคับพิมพ์
  3. หูเป็นขอเบ็ดเฉี่ยงออกในองค์ที่ติดชัด
  4. เส้นใต้แขน
  5. หัวแม่มือมีรอยสับ
  6. เส้นผ้าปูรองนั่ง
  7. เส้นตรงใต้ฐาน
  8. ติ่งโพธิ์เนื้อเกินจงอยออกมา
  9. ก้านโพธิ์ฝักดาบ
  10. เส้นแตกข้างหู
  11. ใบโพธิ์เสียบทะลุรอยแตก
  12. มีลักษณะเบ้าขนมครก
  13. เบ้าขนมครก
  14. เส้นน้ำตกใต้ศอก
  15. ปากพู่กัน
  16. ตัววายคว่ำหัว
  17. คล้ายเท้นกเกาะกิ่งไม้

 

 

 

 12   ที่สังฆาฏิมีรอยขีดสองขีดที่อกด้านซ้ายองค์พระ

 

 11 จะปรากฏรอยเสี้ยนไม่ที่พระอุระ

 

 

 

 15  ที่ปล้องแขนขวา จะมีลักษณะคล้าย ส เสือ

 

 12 ปรากฏมีรูหู

18 แข็งจะมีจุด

 

 

 13   จะมีขีดด้านซ้ายองค์พระ 4 ขีด

 

 5 จะปรากฏเส้นตะเข็บด้านแขนซ้ายของพระ

 

 

 

 

 

 12 ใบโพธิ์มีลักษณะฉีกเป็น 2 แสก

 

 

ข้อ 6 มีลักษณะบล๊อคแตกที่ปีกพระด้านขวาองค์พระ

 

 

 พระรอดพิมพ์หน้าพระสิงห์

 

 พิมพ์หูสมอ

 

 พิมพ์คมชัดลึก 3

 

 พิมพ์ตะเข็บข้าง

 

 พิมพ์โพธิ์ฉีก

 

พิมพ์ไหล่ยก

 

พิมพ์หน้าเทวดาแข็งลาย

 

 พิมพ์คมชัดลึก 2

 

นอกนี้ยังมีปลีกย่อยเช่นเส้น้ำตกมี 3 จุดใต้ศอกซ้าย/ใต้เข่าซ้าย/ใต้ฐานบนเป็นแนวเดียวกัน ฐานอาสนมี 4 ชั้น เส้นผ้าปูรองนั่ง ( focus )

 

  

พระรอดพิมพ์กลางวัดมหาวัน

  1. ประภามลฑลมีลักษณะคล้ายปลายหอก
  2. โพธิ์รูปคมขวาน
  3. เนื้อเกินบนโพธิ์สมมุติ
  4. เส้นแตกซอกแขนสองเส็นบางพิมพ์สามเส้น  
  5. มีฐาน3 ชั้นฐานที่3 หนาใหญ่
  6. เนื้อเกินที่.ใต้ฐานที่ 3 มีลักษณะคล้ายก้นแมลงสาป
  7. โพธิ์ติ่ง 
  8. มีลักษณะนูนเด่นคล้ายไข่ปลา
  9. หน้าอกนูน
  10. ปีกพระยื่นออกมา
  11. เส้นผ้าทิพย์  (  Focus  )

 

  

พระรอดพิมพ์ต้อวัดมหาวัน

  1. ก้านโพธิ์ เป็นเส้นตรงบางพิมพ์เชื่อมติดเกศ
  2. เกศสะบัดคล้ายเปลวเพลิง
  3. โพธิ์รูปคมขวาน
  4. ปีกพระด้านข้าง
  5. หัวแม่มือมีรอยถูกสับ
  6. โพธิ์มีรูปคล้ายสี่เหลี่ยม
  7. มีลักษณะคล้ายตัวเอ็ม
  8. มีกรพุ้งแก้ม
  9. มีเนื้อเกินยื่นมาด้านหน้า
    นอกนั้นยังมีปลีกย่อยเส้นน้ำตก ทีใต้ศอกซ้ายและใต้เข่าซ้าย 

(พระรอดพิมพ์ต้อมีหลายบ๊อลค นี่เพียงตัวอย่างหนึ่ง)

(ที่มาของรูปภาพ พิพิธภัณฑ์ อแม่จัน จังหวัดเชียงราย)

 

พระรอดพิมพ์ตื้นวัดมหาวัน 

  1. ใบโพธิ์รูปคมขวาน
  2. ก้านโพธิ์มีขีดเป็นเส้นตรง
  3. มีเส้นที่ปากเป็นเส้นตรง
  4. มีลักษณะคล้ายรางข้าวหมู
  5.  มีลักษณะคล้ายตัวหนอน
  6. มีรอยครูดที่แก้มด้านซ้ายองค์พระ
  7. มีลักษณะคล้ายตัวหนอนติดที่ไหล่(พระอังสา)
  8. ปีกพระ
  9. เนื้อเกินมีรอยครูด
  10. นอกนั้นยังต้องพิจารณาเนื้อพระแต่พระองค์นี้ดูง่ายเพราะเนื้อพระมีหินแคลเซี่ยมเกาะเป็นหนังกระเบน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 


พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวันกรุใหม่
ประวัติพระ ค้นพบโดยช่างน้อย เมื่อ 30 ปีก่อนขณะคุมงานก่อสร้างในวัดมหาวัน
 

 



พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวันโซนเนื้อผงหิน

 

 


รอยมาร์คในพิมพ์พระรอด

รออยมาร์คคืออะไร? ทำขึ้นมาเพื่อจุดประสงค์ใด?สามารถนับเลขเพื่อให้ครบจำนวน 84,000 เท่าพระธรรมขันธ์ ในการบรรจุในเจดีย์ /พระรอดคุณลักษณะใดจึงจะมีรอยมาร์ค?ถึงจะมีรอยมาร์ค/ วันี้ดูรูปไปก่อน /มาร์คที่หลังกดพิมพ์/ถ้าเป็นรอยมาร์คที่ในพิมพ์พระจะต้องมีรอยครูดปรากฏ

  • ในการค้นพบพระคงวัดพระคงฤาษีในการสร้างศาลาการเรียนรู้ชุมชนวัดพระคงฤาษีจังหวัดลำพูนทำให้ความจริงเรื่องพระคงปรากฏขึ้นดังนี้
  1. เรื่องพิมพ์พระคงวัพระคงฤาษีว่ามีกี่พิมพ์ทรง ?
  2. รอยมาร์คข้างฐานด้านซ้ายองค์พระคง
  3. เนื้อพระคงวัดพระคงฤาที่มีเอกองค์เป็นเอกลักษณ์
  4. การสร้างานของช่างหลวงในยุค 1,300ปี
  5. ความคมชัดของพิมพ์พระมีมิติเป็นพุทธศิลป์ชั้นสูงของช่างหลวง
  • การค้นพบพระคงดำ ที่มีเงาสว่าง และมีความสวยงามเท่าที่มีค้นพบพระคงดำในการค้นพบพระรอดของพระรอดที่ค้นพบในการขุดถนนของช่างแก้ว/ในปล้องไฉนของเจดีย์เมื่อ 30 ก่อนในการรับเหมาสร้างถนนข้างวัดมหาวัน ทำให้การศึกษาเรื่องพระรอดได้หลักฐานความจริงที่ปรากฏดังนี้                                                       1
  •  ทำให้ทราบว่าพระรอดพิมพ์ใหญ่มีกี่พิมพ์ทรง?
  • รอยมาร์คของฐานพระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์ต่างๆ
  • ความสวยงามของพุทธศิลป์
  • ขนาดขององค์พระ
  • เนื้อหาสาระ/พระบาง/พระคง
  •  

   พอ  สรุปได้ในจุดประสงค์หลักในการมาร์คในพิมพ์พระรอดพระคงดังต่อไปนี้

  1. เพื่อนับจำนวนพระ
  2. เพื่อเป็นการคัดเลือกพระที่มีความสวยงามเท่านันที่จะบรรจุในองค์พระเจดีย์ (ใจ๋ธาตุ) 
  3. มาร์คเพื่อให้ทราบว่าเป็นฝีมือช่างหลวง(หรือช่างในวัง)
  4. ให้ทราบว่ากษัตริย์เป็นผู้สร้าง
  5. เพื่อเป็นการระลึกถึงในอดีตได้มีการสร้างพระที่มีพุทธศิลป์สวยงาม

 

พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน(พิมพ์หูขอเบ็ด) 

 



รอยมาร์ด้านข้างยาวลงมา

 

พระรอดวัดมหาวันพิมพ์ใหญ่( พิมพ์เศียรใหญ่  ) 

 

รอยมาร์คด้านข้าง 

 

พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน 

 

รอยมาร์คด้านข้าง 

  

พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน

  

รอยมาร์คด้านข้าง

  

เจาะลึกตำหนิพระรอดในพระรอดพิมพ์ใหญ่เครื่องราชฯมีกี่พิมพ์กี่บ๊ลอคจะได้นำเสนอต่อไปโดยขอความเมตตาอนุเคราะห์จากช่างแก้ว/ช่างเสริฐ/บอล ลำพูนในการขออนุญาตถ่ายภาพพระรอดเพื่อการศึกษา เรื่องพระรอด ต่อไป เพื่อเป็นเวปที่ให้ความรู้เรื่องพระรอดอย่างจริงจัง

  1. พิมพ์กำไลปล้องแขมมีกี่พิมพ์?
  2. พิมพ์ไม่มีกำไลปล้องแขนมีกี่พิมพ์?

ยุคของการสร้างแยกออกพระรอดพิมพ์เครื่องราชฯสร้างกันกี่ยุค /มีรอยครูดที่แก้มด้านซ้ายกับไม่มีรอยครูดที่แก้มซ้าย/ลักษณะของเกรน( Grain  )เนื้อพระที่มีความแตกต่าง/เนื้อพระรอดที่แก่แร่/เนื้อพระรอดดที่แก่ว่าน จะได้พูดต่อไป

พระรอดที่สรางในยุคแรก ( พระนางจามเทวี  )พระรอดที่ค้นพบโดยช่างเสริฐ/ช่างแก้ว/ช่างน้อย เกรน( Grain  )เนื้อพระจะมีลักษณะหยาบแก่มวลสารมีเม็ดผดปรากฏบนผิวพระผิวพระเหี่ยวย่นคล้ายหนังคนแก่หรือหนังช้าง
 2 พระรอดที่สร้างยุคสอง(พระยาสรรพสิทธิ์ )พระรอดของน้อยหมา (บอลลำพูน)เกรนเนื้อพระจะมีลักษณะละเอียดแก่ว่าน 

 

 


ตำหนิพระรอดพิมพ์กลางที่ค้นพบที่วัดมหาวัน
Phra Rod Pimklang( one of Benja pakee )Value... BathTle...

ประวัติที่มาของพระ( history )เป็นพระของน้อยหมา ลือชัย อดีตพระสงฆ์ที่บวชในวัดมหาวันปัจจุบันเสียชีวิต ต่อมาเป็นของหลายชาย นายบอล ลำพูน (กานต์ ห่วงขาว)
พิมพ์พระนี้เป็นตรงกับที่ พระรอดที่ช่างแอ๊ดพบที่หอระฆัง

Phrarod Pimyai 1.300 years old Haripoonchai Kingdom
One of Benjapakee Guarantee.

 


Pharod Pimyai 1.300 years old
One of Benjapakee Value      Bath Tle Guarantee


Back Phrarod

ด้านหลังพระรอดพิมพ์ร้อยล้าน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 


 

 

 

 

นอกนี้ยังมีปลีกย่อยเช่นเส้นน้ำตกมี 3 จุดใต้ศอกซ้าย/ใต้เข่าซ้าย/ใต้ฐานบนเป็นแนวเดียวกัน /ฐานอาสนมี 4 ชั้น เส้นผ้าปูรองนั่ง ( focus ) จุดในการดูพระรอด ฟันธง