พระรอด
เข้าสู่ระบบ | สมัครสมาชิก

พระรอดฝีมือ/พระรอดเก๊

เผยแพร่เมื่อวันที่ : 2 ธันวาคม 2553
อ่าน :: 95,187 ครั้ง

พระรอดฝีมือ

(สุดยอดเซียนต้องพิจารณาพระเก๊ให้เป็นและต้องรู้ลึกว่าใครทำ)

หมายความว่า พระที่ทำขึ้นมาใหม่ /พระล้อพิมพ์/บางทีเรียกว่าพระเก้

* เริ่มต้นการวิจัยพระรอด 100 ฝีมือ                                                                                                                           * พระสมเด็จระดับเซียนเล่น
* พระซุ้มแกะ
* พระรอดแกะ
* พระนางฝีมือ/กำแพง
* พระผงสุพรรณ
* พระตระกูลลำพูน/สนิมปลอม
* เปิดตา ให้รู้จริง เขตปลอดพระเก้
* พระแท้คืออย่างไร?กรุเก่า/กรุใหม่?

     ใจเย็นรอหน่อยการค้นคว้าทางวิขาการต้องชัดเจนและนำเสนอได้ ในความจริงวันนี้
จาการลงสนามติดตาหาข้อมูลของคนขุดพระรอดจึงได้ข้อมูลที่ชัดเจน การสอบถามช่างประสิทธิ์/ช่างแอ๊ดช่างรับเหมาก่อสร้างในวัดการสร้างถนนรอบๆ วัด มีข้อมูลตรงกันในเรื่องของเนื้อพระรอดถือว่าสำคัญมากในการพิจารณาพระรอด เพราะปลอมยากมาก/พิมพ์พรอดพอจะปลอมได้บ้างแต่เนื้อพระรอดนั้นยากมากปลอมไม่ได้(สำหรับคนที่เคยเห็นพระรอดแท้) เซียนจึงหนีไปเล่นพระแต่ง(พระลงน้ำยา/พระขี้มือ) และเซียนในท้องถิ่นก็ ไม่ลึกพอที่จะให้ความรู้และข้อมูล เชิงลึก สำหรับพระรอดแต่งนั้นกพิจารณายากกว่าพระรอดกรุใหม่ที่มีสภาพเดิมๆให้พิจารณา ง่ายกว่า
ปัจจุบันได้มีตระกูลมหาวัน ที่เป็นคนที่มีภูมิลำเนาที่วัดมหาวัน/ตระกูลน้อยหมา/ตระกูลน้อยแสง/ตระกูลแก้วศรี ได้นำพระรอดแท้ไปมอบให้พิพิธภัณฑ์ สถานแห่งชาติจังหวัดลำพูนเมื่อเดือนเมษายน 2553 ที่ผ่านมา จึงมีพระรอดแท้ให้ชมเป็นบันทัดฐานต่อไป พระรอดที่มีสภาพเดิมๆ( Original  )ง่ายแก่การพิจาณา สำหรับคนที่ดูพระรอดเป็น ผู้เขียนได้เห็นพระรอดมาไม่ตำกว่า2,000 องค์ จึงมีความเห็นเช่นเดียวกับช่างฯและคนขุดพระรอด พอจะสรุปหลักการได้


หลักการพิจารณาพระรอดแท้มีหลักเกณฑ์การพิจารณาดังนี้

 

1. ใบหน้า หมาย ความว่า พระรอดนั้นใบหน้าจะมีลักษณะเป็นเอกลักษณ์ที่คล้ายคลึงกันในพระรอดพิมพ์ใหญ่ วัดมหาวันโดยเฉพาะ รอยครุดที่แก้มซ้ายขององค์พระ ต้องมีทุกพิมพ์ทุกบ๊ลอต  แม้นจะต่างบล๊อคต่างพิมพ์กันต้องใช้ประสพการณ์ และฝึกดูพระแท้บ่อยๆ

2. พิมพ์ทรง พระรอดนั้นมีพิมพ์ทรงพึงสังเกตุง่ายๆดังนี้ ลักษณะลำพระองค์อ้วนจะเป็นยุคที่สร้างก่อน ส่วนพระรอดที่ลำพระองค์จะสร้างยุคหลังผอมหลังเป็นคำพูดของคนขุดพระสรุปง่ายเข้าใจเร็ว ขยายความ ถ้าเป็นพระรอดยุคแรกๆนั้นลำพระองค์จะอวบอ้วน ถ้าเป็นพระรอดยุคหลังต่อมามาลำพระองค์ จะผอมกว่า ส่วนตำหนิในพิมพ์ทรงในพระรอดนั้นจะเหมือนกันทั้งหมดตามที่อาจารย์ อรรคเดช กฤษณะดิลก นักวิชาการ และนักโบราณคดีอิสระ ศิลปะหริภุญไชย ได้เขียนไว้ 18 ประการในพระรอดพิมพ์ ใหญ่และนำเสนอสาธาณะชนไปแล้ว 2 ฉบับชัดเจน

3. เนื้อพระรอด เนื้อ พระรอดนั้นถ้าเป็นยุคแรกๆ1,300ปีนั้น นิยมใช้เนื้อดินศิลาธิคุณ ดินดิบ ต่อมาเนื้อพระมีน้อยจึงนำมาผสมดินเหนียวแล้วนำไปเผา เพราะฉนั้นการพิจารณาถ้าเนื้อพระดูง่ายคือเนื้อดินดิบ สีพิกุล ( เอกลักษณ์วัดมหาวัน )แต่ถ้าเป็นพระรอดเขียวนั้นถ้าเป็นดินศิลาธิคุณ ถ้าเนื้อพระรอดมีอายุ เนื้อพระจะฟู คล้ายหนังกระเบน ปัจจุบันอาจารย์ อรรคเดชได้ทำผลงานวิจัยข้อมูลเปรียบเทียบวัตถุโบราณ ในพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติลำพูน กันเนื้อพระรอดพระคง ผลวิจัยพบว่าแตกต่างกัน 15-18 เปอร์เซ็นความคลาดเคลื่อน เรื่องของความหยาบของเนื้อ และความละเอียดของเนื้อว่าน ส่วนธรรมชาติด้านอื่นๆจะใกล้เคียงกันทั้งหมด

4. ธรรมชาติ ในเนื้อพระรอด พระรอดแบ่งออกเป็นสองโซน คือโซนเนื้อละเอียด และโซนเนื้อหยาบ แต่ถ้าเจาะลึกเข้าไปเนื้อพระและธรรมชาติวิทยาเนื้อพระจะใกล้เคียงพระคงวัด พระคงฤาษี เพราะเป็นพระที่สร้างในยุคเดียวกัน และเป็นช่างหลวงยุคเดียวกันจากการค้นพบหลักฐานล่าสุดพบว่ารอยมารค์ ที่ฐานพระคงวัดพระคงฯและพระรอด วัดมหาวัน ทำให้โยงความต่อเนื่อง สันนิฐานว่าวัดทั้งสองน่าจะมีอาณาเขตติดต่อ หรืออยู่ในยุคเดียวกันจึงมีการแลกเปลียนศิลปะวัฒนธรรมซึ่งกันและกัน จากการดูธรรมชาติความเก่าของเนื้อพระมีความใกล้เคียงกัน ในเนื้อหาสาระ และมวลสาร /ฤาษีเป็นผู้สร้างในยุคเดียวกัน /ในการวิจัยได้นำไปให้สถาบันจุฬา ก้ผลตรงกับการวิจัย  อีกประการการนำพระรอดไปเปรียบเทียบ กับวัตุโบราณของพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติลำพูน ในกรณีความเก่าธรรมชาติของเนื้อพระรอดทั้งคราบธรรมชาติชนิดของดินที่นำมาปั้นเป็นชนิดเดียวกัน 

5. ปีกพระรอด พระ รอดส่วนใหญ่แล้วจะมีปีก ปีกพระรอดจะมีลักษณะคมดังคำโบราณกล่าวไว้ว่ามีความคมตัดใบกล้วยได้ เกิดจาการหด ตัว และตความแกร่งของเนื้อพระ ( Solid )ทางธรรมชาติ และการม้วนตัวของปีกพระ

6. ความจัดระเบียบใบโพธิ์ หมาย ความว่าพระรอดนั้นจะออกแบบปราณีตโดยช่างหลวงเพราะฉนั้นใบโพธิ์สมมุติจึงมี ระเบียบสวยงามผิดกับพระรอดวัดอื่น หรือพระแต่งพิมพ์จะไม่เป็นระเบียบ ดังตัวอย่างเปรียบเทียบของรูปภาพด้านล่าง

7. เนื้อดินที่เผา และไม่ผ่านการเผาพระ รอดยุคก่อนที่ปั้นด้วยดินศิลาธิคุณดินดินดิบจะมีขนาดใหญ่ก่วาพระรอดที่เผา ด้วยไฟ หรือเผาสุก จะมีสีต่างกันเขียวแดงเขียวคาดเหลือง แต่เนื้อดินเผาของพระต้องดูให้เจาะลึกลงไปว่าสภาพทางธรรมชาติวิทยา เรื่องนี้ละเอียดอ่อนมากพระเผาเขียวกลายเป็นของแข็ง มีสภาพใกล็เคียงหินอายุ 1,300ปีนั้นเป็นอย่างไร? ส่วนใหญ่เนื้อพระจะฟู ยกเว้นเนื้อละเอียดมากหรือหินลับมีดโกน จะไม่ปรากฏเพราะโลกุลจะไม่ขยายคัว

8. ขนาดของพระรอดที่ความต่างสถานะกันระหว่างดินดิบ/ดินสุกหมายถึงขนาดพระรอดที่เผาสุกกับเผาไม่สุก

9. สีพระรอด สี พระรอดวัดมหาวันที่มาตรฐาน ดินดิบได้แก่ สี ดอกพิกุล/สีขาวดอกจำปี /สีน้ำตาล/สีชมพูอ่อน/ขมิ้นไพร ส่วนดินเผา ได้แก่ สีเขียว/สีแดง/สีอิฐ/สีเขียวคาดเหลือง/สีเขียวหินครก/เมื่อศึกษาทฤษฎี 18 ข้อ แล้วแล้วลองทดสอบแบบฝึกหัดให้ทดสอบให้ดูทฤษฎีประกอบ ไม่นานท่านคงจะดูพระรอดเป็นและตัดสินใจได้โดยไม่ต้องนำพระไปแห่ เสียเวลา เสียความรู้สึก ต้องให้ผูที่รู้จริงๆ เป็นผู้ฟันธง จะได้สบายใจ หมายเหตุเนื้อพระรอดแท้นั้นปลอมแทบจะไม่ได้ ถ้าเป็นยุค 1300 ปี ยิ่งทำไม่ไดเลย

การทดสอบสายตา 

ในการทำแบบฝึกหัดทดสอบสายตา เราจะไม่วิจารณ์พิมพ์พระให้สมาชิกได้โปรดใช้วิจารณญาณ หลังจากที่ได้ศึกษาใน prarod.com แล้ว

 

ทดสอบสายตา 25

 

 

ทดสอบสายตา 26 

 

ทดสอบสายตา 27 

 

ทดสอบสายตา 28 

 

ทดสอบสายตา 29 

 

ทดสอบสายตา 30 

 

 

 

ทดสอบสายตา 31 

 

  

ทดสอบสายตา24

องค์ไหนเป็นพระแกะ 

 

 

ทดสอบสายตา 25 

ขนาด/คราบธรรมชาติห่างกัน 

 

ทดสอบสายตา /26

ธรรมชาติต่างกัน 

ทดสอบสายตา13 

 

ทดสอบสายตา14

ใบหน้า/แต่งโพธิ์เกินจริง 

 



ทดสอบสายตา15

ทดสอบสายตา16
พิมพ์ทรง/เนื้อหาสาระ

 

ทดสอบสายตา17
โพธิ์/ฐานพระ/ใบหน้/ลำพระองค์

  

 

ทดสอบสายตา18
ผิวพระดึง/คราบธรรมชาติ

 

ทดสอบสายตา19
ขนาดองค์พระ/คราบธรรมชาติ

 

ทดสอบสายตา20

 

ทดสอบสายตา21

 

ทดสอบสายตา  22

 





พระฝีมือ 1


ฝีมือ 2




พระฝีมือ 3



พระรอดรอดฝีมือ 4



พระรอดพิมพ์ต้อฝีมือแกะ
ที่นำมาออกใบรับรองพระแท้ฯไม่ผ่าน



พระซุมแกะ ที่นำมาออกใบรับรอง ไม่ผ่าน




ซุ้มแกะ


พระซุ้มกอแกะ พระฝีมือ



ข้อมูลเปรียบเทียบพระคงดำ แท้กัพระคงฝีมิอ
แตกต่างกันหลายด้านดังนี้

1. เนื้อพระที่มีความแตกต่างกัน และให้จำเนื้อพระให้แม่น
2. ความเหี่ยวย่น คล้ายหนังช้าง
3. ใบโพธิ์ ก้านโพธิ์ จะปรากฏมีเสี้ยนเล็ก
4. ฟิลม์บนผิวพระ และผี่นบนผิวพระ
5. ลำพระองค์จะลำผิดกัน
6. ด้านหลังเห็นชัดเจน ความเหี่ยวย่น กับความตึง

การเปรียบเทียบด้านหลัง พระคงดำ แท้เก๊ระหว่างความดึงกับความย่นและมีความมันวาวเมื่อสัมผัสด้วยมือ
ความสำคัญ การพิจารณาด้านหลังพระคงดำมีเอกลักษณ์ที่เป็นเอกองค์ ซึ่งไม่เหมือน พระคงเนื้ออื่นๆ มีความเหี่ยวย่นคล้ายหนังช้าง สัมผัสด้วยมือจะเกิดความมันวาวหรือฟิลป์  พระคงดำปลอมผิวจะด้าน หลังไม่ย่นเหมือนหนังช้าง  




ด้านข้างระหว่างพระคงดำแท้ /เก้ ของแท้อกจะนูนกว่าเนื้อพระจะมันวาว




พระฝีมือพระลือโขงกับคราบสนิมปลอม ชนิดหนึ่งที่วางขายทั่วไป

 




พระคงดำกรุวัดพระคงฯ




ทดสอบสายตา1


ทดสอบสายตา2



ทดสอบสายตา 4


ทดสอบสายตา5


ทดสอบสายตา6



ทดสอบสายตา7


ทดสอบสายตา 8


ทดสอบสายตา 9




ทดสอบสายตา 11




ด้านหลังพระรอดแท้
มีความย่นคล้ายหลังพระคงดำ(หนังช้าง)  พิมพ์ใหญ่ช่างหลวง



แบบฝึกหัดทดสอบสายตา 13

ขอให้ทุกท่านโคดี 20/2/53

คำเฉลยนั้นติดต่อช่างเทคนิคอีกที


ให้สังเกคุใบหน้าพระรอดจะมีลักษณะคล้ายกันทุกๆพิมพ์

โคยให้เห็นชัดเจนด้านหน้า


รอยมารค์ ข้างฐานด้านขวาองค์พระ
เป็นฝีมือช่างหลวง
ข้อสังเกตุด้านข้าง ( side view )พระรอดจะบาง


ทดสอบสายตา




ทดสอบสายตา
พิมพ์ต้อชนิดต่าง



ข้อมูลเปรียบเทียบระหว่างพระรอดพิมพ์กลาง
แท้ตาเปล่า /เก้ตาเปล่า

1. เรื่องพิมพ์ทรงที่แตกต่าง                                                                                                              2. เนื้อหาสาระที่แตกต่างกัน เนื้อสีพิกุลเอกองค์วัดมหาวัน
3. สภาพธรรมชาติที่แตกต่างกัน
4. ขนาดที่มีความแตกต่างกัน




ข้อมูลเปรียบเทียบพระแท้พิมพ์ช่างหลวง พิมพ์เครื่องราชฯ
1. ใบหน้าที่มีความแตกต่างกัน
2. เนื้อพระที่แตกต่างกันมาก
3. ครากรุคราบความเก่าที่แตกต่างกัน
4. พิมพ์ทรงที่แตกต่างกัน


ข้อมูลเปรียบเทียบ พระแท้/เก
1
. ความแตกต่างเรื่องพิมพ์ทรง
2. เรื่องการจัดระเบียบของโพธิ์
3. เนื้อพระที่มีความแตกต่างกัน ดินศิลาธิคุณผสม /ดินเหนียวเผา
4. ใบหน้าที่แตกต่างกัน
5. คราบแคลเซี่ยมมีกับไม่มี




วิจารณ์ พระแท้
เนื้อผงหิน
คราบกรุ /คราบสนิมไขวัว
พระรอดในภาพเป็นพระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน ช่างหลวง มีสภาพเดิมๆ มีคราบไขสนิมวัวติดติดอยุ่เจ้าของให้คงสภาพเดิม ผิดกับพระเก้นิยมใช้ชุบเทียน /มีความแตกต่างกับ


วิจารณ์พระแท้

พระรอดพิมพ์ใหญ่ วัดมหาวันพิมพ์ช่างหลวง มีเครื่องราชฯ




โบราณวิจารณ์
1. เนื้อพระที่เป็นธรรมชาติกับเนื้อแช่น้ำมันเครื่อง
2. คราบธรรมชาติ จะไม่ปรากฏคราบแคลเซี่ยม
3. ความลึกของพิมพ์ทรง


1. พิมพ์ทรงที่แตกต่างกัน
2. เนื้อพระมีความแตกต่างกัน
3. คราบธรรมชาติ




1. พิมพ์ทรงที่มีความแตกต่างกัน
2. ใบหน้าที่มีความแตกต่างกัน
3. คราบธรรมชาติที่เดิมกับคราที่ทำขึ้นมา
4. มิติของใบโพธิ์
5 ผิวตึงกับผิวย่น
6 คราบสนิมปลอม ในพระฝีมือทั่วไป


1. พิมพ์ทรงที่มีความแตกต่างกัน
2. คราบธรรมชาติกับคราบสนิมปลอม
3. ช่องไฟของใบโพธิ์ที่มีความแตกต่างกัน
4. เนื้อพระที่ทีความต่างกัน


1. เนื้อพระที่เป็นธรรมชาติกับเนื้อพระที่ทำผิวโดยการแช่น้ำยา
2. พิมพ์ทรงที่มีความแตกต่างกัน
3. คราบธรรมชาติมีกับไม่มี
4. วรรณะและสีมีความแตกต่างกัน


1. พยายามจะทำให้เป็นพิมพ์ต้อรายละเอียดยังไม่ได้
2. เนื้อหาสาระที่แตกต่างกัน/สีพิกุลแห้ง
3. คราบราขาวหราบปรอท/คราบสนิมปลอม
4. แผ่นฟิลม์บนผิวพระ
5. ความแห้งของเนนื้อพระ




1. พิมพ์ทรงที่ใกล้เคียงแต่ไม่ใช่ถ้าพิจารณาด้านข้างด้านหลังจบเลย
2. เนื้อพระพยายามที่จะทำเป็นเนื้อดินดิบ
3. การจัดระเบียบของใบโพธิ์ ยังไม่ได้
4. เกาะแคลเซี่ยมไม่ปรากฏ



1. พยายามจะทำให้เป้นพิมพืเล็กฝีมือยังห่างไกล
2. พิมพ์ทรงพระผิดพิมพมาตรฐาน
3. เนื้อพระระหว่างดินศิลาธิคุณ กัยดินเหนียวเผาต่างกันมากๆ
4. ราและกรากกินเนื้อพระแตกต่างกัน
5. ความเหี่ยวย่นนของเนื้อพระที่แคกค่างกัน

 


1. พยายามจะทำให้เป็นพิมพต้อ ผิดหลายจุด
2. เนื้อเกินที่ฐานไม่ปรากฏ
3. เนื้อสีพิกุลแห้ง ทำไม่ได้
4. แผ่นฟิลม์บนผิวพระ
5. ความแห้งของเนื้อพระ
6. ราขาวคราบแตงปรากฏ

7. ใบหน้าที่แตกต่างกัน


1. พิมพ์ทรงที่มีความแตกต้งกันระหว่างพิมพ์ใหญ่มาตรฐาน
2. เนื้อหาสาระที่มีความแตกต่างกัน
3. คราบธรรมชาติที่ต่างกัน
4. ชอ่งไฟของใบโพธิ์ มีความแตกต่างกัน
5. ใบหน้าที่ต่างกัน/ความสง่าความขลังต่างกันมาก




ชัดเจน
องค์ขวามือเป็นพระถอดพิมพ์

 


พระรอดถอดพิมพ์ล่าสุด
ได้ข้อสังเกตุบางประการในพระถอดพิมพ์โพธิ์จะมีลักษระห่อเข้ามาไม่เบ่งบานเหมือนพระรอดแท้



ใช่หรือไม่?


ใช่พรือไม่?