พระรอด
เข้าสู่ระบบ | สมัครสมาชิก

Jamatewee Kingdom /พระรอดจามเทวี/ krisana.kd@gmail.c

เผยแพร่เมื่อวันที่ : 22 ธันวาคม 2553
อ่าน :: 8,404 ครั้ง

 

 

  พระรอดจามเทวี                    krisana.kd@gmail 

ชื่อพระ พระรอดวัดจามเทวี เรียกชื่อตามสถานที่ค้นพบ( บริเวณหน้าวัดจามเทวี ปัจจุบันเป็นศาลาเอสเอ็มแอล) หน้าวัดจามเทวีทางทิศตะวันออกของวัดจามเทวี

ประวัติพระการค้นพบโดยบังเอิญใน การสร้างศาลาเอสเอ็มแอล ช่างเสริฐและทีมงานช่างขุดวางฐานศาลา โดยใช้รถแม๊คโฮขุดเสาตอหม้อได้พบแนวสันเจดีย์เก่าจึงขุดตามแนวสันเจดีย์นำไปพบพระรอดและพระลำพูนจำนวน หนึ่งบรรจุในหม้อดินเผาขนาดใหญ่ขนาดพอๆกับหม้อขนมจีนของชาวล้านนานับได้จำนวนมากกว่า หนึ่งพันองค์และพระอื่นๆเบ็ดเตล็ด หมายถึงพระตระกูลลำพูนได้แก่พระพระคง/พระเลี่ยง/พระเปิม/พระสามเดี่ยว/พระทวาฯยืนของใช้มีค่าอื่นๆ (โดยเฉพาะพระตระกูลอื่นๆมีลักษระพิมพ์ทรงเนื้อหาสาระตรงกับพระที่ขุด ทางน้ำทิ้งที่หลังโรงพยาบาลลำพูน) 
เนื้อหาสาระความเก่า  ระดับความลึกในการค้นพบประมาณ 5-6 เมตร เป็นความลึกระดับตาน้ำ ผิวพระจึงมีลักษณะสากมือคล้ายหินประการังมีรูพรุนของเนื้อพระเมื่อส่องด้วยกล้องจุลทัศน์  เนื้อพระแห้งจนหมดยาง ตรงกับข้อมูลทางธรณีวิทยาที่มีแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ทำให้เมืองลำพูนไปอยู่ด้านล่าง( city underground  )ต่อได้มาสร้างบูรณะปฎิสังขรใหม่ ในสมัยพระยาสรรพสิทธิ์ พุทธศตวรรรษที่ 17 ตามศิลาจาลึก ที่พิพิธภัณฑ์ สถานแห่งชาติจังหวัดลำพูน
 ธรรมชาติทีค้นพบ ค้นพบโดยบังเอิญในการขุดตอหม้อสร้างสาลาเอสเอ็มแอล โดยการใช้รถแบ๊คโฮขุด ความลึกระดับตาน้ำสภาพพระจะไม่ปรากฏมีคราบกรุเกาะแต่อย่างใด แต่จะมีหินแคลเซี่ยมเกาะเป้นตุ่มเล็กๆติดนำไปทดสอบความเก่าโดย นักวิทยาศาสตร์จากกรมวิทยาศาสตร์ผลออกมาชัดเจนเป็นพระที่มีอายุการสร้างตามประวัติศาสตร์ โดยมีคราบ Ca
พยานวัตถุ มีการสร้างศาลาเอสเอ็มแอลจริงบริเวณหน้าวัดจามเทวีด้านทิศตะวันออกของวัดจามเทวี
พยานบุคคล ช่างเสริฐ/ช่างแอ๊ด คนงานมีจริง
พุทธศิลป เป็นฝีมือช่างหลวงที่มาจากลพบุรีจึงมีการผสมระหว่างศิลปะทวาราวดีกับศิลปะลพบุรี จากการศึกษาศิลปะ แล้วเป็นพระชุดแรกๆในการสร้างพระรอด หลังจากการสร้างบ้านแปงเมืองเสร็จจึงสร้างพระรอดเพื่อคุ้มครองอาณาจักร เป็นขวัญกำลังใจให้ทหาร

โบราณวิจารณ์ จาการค้นพบพยานวัตถุ /พยานบุคคลทั้งเปิดเผยและไม่เปิดเผยผู้ค้นพบได้แก่คนงานและทีมงานไม่กล้าเปิดเผยตัวเองเพราะเกรงความผิด พระชุดนี้กลุ่มเซียนพระ จึงไม่ทราบมุ่งประเด็นพระที่ค้นพบที่เจดีย์กุ่กรุด  ซึ่งมีอายุการสร้างทางประวัติศาสตร์ ในสมัยพระยาสรรสิทธิ์ ในพุทธศตวรรษที่ 17 ( ตามหลักศิลาจารึก )ไม่ทันยุคพระนางจามเทวี ดังนั้นการนำวัตถุธรรมมาเปรียบกันคงจะแตกต่างกันทั้งความเก่าและศิลปะและความเก่า  พุทธศิลป์พระเครื่องที่ค้นพบในศาลาเอสเอ็มแอล การพิจารณา ทางศิลปะว่าสูงกว่า ความเก่าถึงยุคพระนางจามเทวี      

 

 

 

 

 ศาลาเอสเอ็มแอล บริเวณหน้าวัดจามเทวี สถานที่นี้ค้นพบพระรอดมากที่สุด

 

 พบแนวสันเจดีย์

 

 จะพบเศษอิฐหัก-พระหักกระจายทั่วไป

 

 

 พระเปิมที่ค้นพบที่บริเวณหน้าวัดจามเทวี แสดงเนื้อพระจัดมากสันนิษฐานสร้างในสมัยพระนางจามเทวี พุทธศตวรรษที่ 13

 

 

 พระรอดพิมพ์ที่ 1
     ดูจากพุทธลักษณะ เป็นพระรอดยุคแรกๆที่สร้างออกแบบโดยช่างหลวงที่มาจากกรุละโว้มีความคมชัดลึกของพิมพ์พระและพึงสังเกตุดังนี้

  1. พุทธศิลป์ เป็นศิลปะทวาราวดีผสมศิลปะลพบุรี ดูโดยรวมๆแล้วใกล้เคียงพระรอดวัดมหาวันพิมพ์ใหญ่
  2. ความเป็นธรรมชาติและความเก่า master pieceในการพิจารณาพระเนื้อดินได้เพราะว่ามีอายุการสร้าง 1,300 ปี ดูจากคราบความเก่าคราบแคลเซี่ยม ดูจากกล้องที่มีความละเอียด 20 xขึ้นไป
  3. ตราประจำราชวงค์ ในพระอระด้านขวาองค์พระจะปรากฏเป็นรูปพญาหงส์ศิลปะเขมร
  4. ทีของเครื่องมือปรากฏชัดเจน ดูโพธิ์รูปขวานจะมีทีเครื่องมือปาดนูนให้เห็นแบบหยาบๆ
  5. สร้างโดยช่างหลวงสันนิษฐานได้แก่ชาวเจ้าและช่างหลวงที่มาจากกรุงละโว้ออกแบบการสร้างโดยพระฤาษีเป็นที่ปรึกษาในการสร้าง
  6. เป็นแม่แบบMasterpiece ในการสร้างพระรอดวัดมหาวัน

 

 

ภาพสะเก็ดจากนักศิลปะและนักโบราณคดีเป็นรูปพยาหงส์ศิลปะเขมร  ที่พระอุระด้านขวาองค์พระ

 

 

 พระรอดพิมพ์ที่ 2 พิมพ์พระศิวะ เพราะบริเวณโพธิ์ขอเบ็ดเป็นรูปสัญญาลักษณ์ของพระศิวะรูปพระอาทิตย์และจันทร์เสี้ยว( สัญญาลักษณ์ในพระรอดพิมพ์กลางอีกด้วย)

  1. พุทธศิลป์ เป็นศิลปะทวาราวดีผสมศิลปะลพบุรี ดูโดยรวมๆแล้วใกล้เคียงพระรอดวัดมหาวันพิมพ์ใหญ่
  2. ความเป็นธรรมชาติและความเก่า master pieceในการพิจารณาพระเนื้อดินชนิดอื่นๆได้เพราะว่ามีอายุการสร้าง 1,300 ปี ดูจากคราบกรุ /ดินนวล /ความแห้งของเนื้อพระหมดยางความเก่าคราบแคลเซี่ยม  
  3. ทีของเครื่องมือปรากฏชัดเจน ดูโพธิ์รูปขวานจะมีทีเครื่องมือปาดนูนให้เห็นแบบหยาบๆ
  4. สร้างโดยช่างหลวงสันนิษฐานได้แก่ชาวเจ้าและช่างหลวงที่มาจากกรุงละโว้ออกแบบการสร้างโดยพระฤาษีเป็นที่ปรึกษาในการสร้าง
  5. เป็นแม่แบบในการสร้างพระรอดวัดมหาวัน
  6. ในองค์พระจะพบพระคาถาสักดิ์สิทธ์ของลัทธิพราหม์ด้วยเช่นตราสัญญาลักษณ์ของพระศิวะ บนโพธิ์เกศนอกนั้นเรายังพบ ปากตะขาบ มีลักษณะคล้ายคีมล๊อค เป็นลักษณะเดียวกันกับพระซุ้มกอพิมพ์ใหญ่จึงสันนิษฐานสร้างด้วยฤาษีและแฝงพระคาถาศักดิสิทธิ์เอาไว้ (ความเชื่อส่วนบุคคล)

 

 พระรอดพิมพ์ที่ 2

 

 พระรอดพิมพ์ที่ 2 พิมพ์พระศิวะ เพราะบริเวณโพธิ์ขอเบ็ดเป็นรูปสัญญาลักษณ์ของพระศิวะรูปพระอาทิตย์และจันทร์ เสี้ยว( สัญญาลักษณ์ในพระรอดพิมพ์กลางอีกด้วย)

  1. พุทธศิลป์ เป็นศิลปะทวาราวดีผสมศิลปะลพบุรี ดูโดยรวมๆแล้วใกล้เคียงพระรอดวัดมหาวันพิมพ์ใหญ่
  2. ความ เป็นธรรมชาติและความเก่า master pieceในการพิจารณาพระเนื้อดินชนิดอื่นๆได้เพราะว่ามีอายุการสร้าง 1,300 ปี ดูจากคราบกรุ /ดินนวล /ความแห้งของเนื้อพระหมดยางความเก่าคราบแคลเซี่ยม  
  3. ทีของเครื่องมือปรากฏชัดเจน ดูโพธิ์รูปขวานจะมีทีเครื่องมือปาดนูนให้เห็นแบบหยาบๆ
  4. สร้างโดยช่างหลวงสันนิษฐานได้แก่ชาวเจ้าและช่างหลวงที่มาจากกรุงละโว้ออกแบบการสร้างโดยพระฤาษีเป็นที่ปรึกษาในการสร้าง
  5. เป็นแม่แบบในการสร้างพระรอดวัดมหาวัน
  6. ใน องค์พระจะพบพระคาถาสักดิ์สิทธ์ของลัทธิพราหม์ด้วยเช่นตราสัญญาลักษณ์ของพระ ศิวะ บนโพธิ์เกศนอกนั้นเรายังพบ ปากตะขาบ มีลักษณะคล้ายคีมล๊อค เป็นลักษณะเดียวกันกับพระซุ้มกอพิมพ์ใหญ่จึงสันนิษฐานสร้างด้วยฤาษีและแฝง พระคาถาศักดิสิทธิ์เอาไว้ (ความเชื่อส่วนบุคคล)

 

 

 

 พระรอดพิมพ์ที่ 3 พิมพ์ใหญ่ทรงล่ำสันนิฐานสร้างให้ทหารดูจากพุทธศิลป์องค์พระลำสันแข้งแรงเหมือนนักรบโบราณ

 

 พระรอดพิมพ์ที่ 4 พระรอดพิมพ์ใหญ่บ๊ลอครองลงมาเพราะเครื่งราขฯ ไม่ชัดเจน

 

 พระรอดพิมพ์ที่ 5 พระรอดพิมพ์กลาง พระรอดพิมพ์นี้มีคาถาเทพเต็มไปหมด
กำลังให้ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านศึกษาอยู่

 

 

 พระรอดพิมพ์ที่ 5 สันนิษฐานพระรอดพิมพ์กลางยุคแรกๆ เพราะพิมพ์ทรงชัดลึกดีมากเนื้อหาวาระมีความเก่าเมือ่ส่องด้วยกล้องจุลทัศน์พบรูพรุน ค้ลายกับหินประการัง

 

 พระรอดพิมพ์ที่ 7 พระรอดพิมพ์ต้อ

 

 พระรอดพิมพ์ที่ 8 พิมพ์ต้อ

 

 พระรอดพิมพ์ที่ 9

 

 

 พระรอดพิมพ์ที่ 10 พระรอดพิมพ์ตื้น (ใกล้เคียงวัดมหาวันแต่ความคมลึกของพิมพ์มากกว่า)
ปรัชญาการสร้าง สันนิษฐานปรัชญาในการสร้างพระพุทธเจ้าปางบำเพ็ญทุกขกิริยา

 

 พระรอดพิมพ์ที่ 11

 

 พระรอดพิมพ์ที่ 12

  1. พุทธศิลป์ เป็นศิลปะทวาราวดีผสมศิลปะลพบุรี ดูโดยรวมๆแล้วใกล้เคียงพระรอดวัดมหาวันพิมพ์ตื้น
  2. ความเป็นธรรมชาติและความเก่า master pieceในการพิจารณาพระเนื้อดินได้เพราะว่ามีอายุการสร้าง 1,300 ปี ดูจากคราบความเก่าคราบแคลเซี่ยม ที่สิ่องกล้องที่มีความละเอียด 20 xขึ้นไป
  3. ทีของเครื่องมือปรากฏชัดเจน ดูโพธิ์รูปขวานจะมีทีเครื่องมือปาดนูนให้เห็นแบบหยาบๆ
  4. สร้างโดยช่างหลวงสันนิษฐานได้แก่ชาวเจ้าและช่างหลวงที่มาจากกรุงละโว้ออกแบบการสร้างโดยพระฤาษีเป็นที่ปรึกษาในการสร้าง
  5. เป็นแม่แบบในการสร้างพระรอดวัดมหาวันพิมพ์ตื้นวัดมหาวัน