พระรอด
เข้าสู่ระบบ | สมัครสมาชิก

Anatomy in Prarod /กายวิภาคศาสตร์เรื่องพระรอด

เผยแพร่เมื่อวันที่ : 7 มกราคม 2554
อ่าน :: 3,816 ครั้ง

กายวิภาคศาสตร์เรื่องพระรอด (Anatomy of Prarod)krisana.kd@gmail.com

หมายความว่าศาสตร์ที่ว่าด้วยส่วนสรีระของพระรอดพิมพ์ใหญ่ พิมพ์ต่างๆโดยละเอียดดังนี้

  1. ส่วนศรีษะหมายความว่าส่วนต่างๆของพระเศียร

 

 

  • พระเกศ ในพระรอดมีหลายลักษณะดังนี้
    พระพักตร์ มีจุดตำหนิ 9 จุดดังได้นำเสนอไปแล้ว ธรรมชาติในองค์พระในรูปดีมากแสดงให้เห็นเม็ดผด/ความเหี่ยวย่นของเนื้อพระ/เครื่องหมายราชลัญญจกร ที่พระอุระด้านขวาองค์พระชัดเจน
    องค์ตัวอย่างนี้เป็นพระรอดที่ดูง่ายมากดังนี้
  1. พิมพ์ทรง
  2. เม็ดผดบนผิวพระ
  3. ในหน้าตำหนิครบ 9 ประการ
  4. ความคมของใบโพธิ์
  5. คราบปูนแคลเซี่ยม
  6. เครื่องราชลัญจกรที่อกด้านซ้ายองค์พระ
  7. ปีกพระ

 

 

 

  1. ลักษณะคล้ายเปียแขก
  2. ลักษณะคล้ายดอกบัวตูม
  3. ลักษณะคล้ายเกศพระพุทธสิหิงส์
  4. มีรอยครูดปรากฏที่แก้มซ้าย ทุกพิมพ์ ( ในยุคที่ 1  )                      
  • พระเนตร(ตา) ในพระรอดพิมพ์ใหญ่มีหลายลักษณะดังนี้
  1. มีลักษณะคล้ายเม็ดงา
  2. มีลักษณะคล้ายตาพระพุทธรูป
  3. มีลักษณะคล้ายตาพระสิงห์

  1.  
  • พระนาสิก (จมูก)
  1. มีลักษณะคล้ายจมูกสิงห์โต
  2. มีลักษณะคล้ายจมูกพระสิงห์
  3. มัลักษณะคล้ายจมูกพระพุทธรูปทรงทวาราวดี

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน

 

 

  • พระกรรณ (หู)
  1. มีลักษณะคล้ายหูมนุษย์
  2. มีลักษณะมีรูที่หู
  3.  มีลักษณะไม่มีรูที่หู

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน

 

  • พระกุณฑล(ตุ้มหู)
  1. มีลักษณะคล้ายขอเบ็ดในด้านซ้ายขององค์พระ
  2. มีลักษณะคล้ายตุ้มหูทรงทวาราวดีมีไข่ปลา
  3. มีลักษณะคล้ายปลายศร
  4. ในพระกุณฑลด้านขวาองค์พระบางพิมพ์ก็ไม่ติดเป็นเป็นรูปขอเบ็ดเบนออกด้านนอก 

 

 

 

  • พระโอษฐ์ (ปาก)
  1. มีลักษณะคล้ายปากปลากัด
  2. มีเส้นตรงมี่พระโอษฐ์
  3. มีลักษณะคล้ายเทวรูปศิลปะเขมร

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน

 

  1. ลำพระองค์(ลำตัว)
  • ลำพระองค์ ในพระรอดหมายความว่า มีเครื่องราช และไม่เครื่องราชฯ และแตกต่างรูปลักษณ์ที่มีความแตกต่างกันได้แก่ลำพระองค์อาบอ้วน/ลำพระองค์พอดี/ลำพระองค์ผอม
  • พระพาหา ในพระรอดหมายความว่าด้านซ้ายด้านขวามีความแตกต่างกันด้านว้ายด้านขวาในแต่ละพิมพ์มีความแตกต่างกันในพิมพ์ส เสือจะมืรูปส.เสือในข้อพับในแขนด้านขวา ในพระรอดพิมพ์เครื่องราชฯ มีรอยขีดเฉียง45 องศา ยาวเป็นทาง
  • พระชงฆ์ ในพระรอดหมายความว่าความแตกต่างกันในเรื่องของเนื้อเกินพระชงฆ์ด้านขวาและในบางพิมพ์ยื่นออกมา 
  • พระกร ในพระกรด้านซ้ายจะมีลักษณะมีหัวแม่มือ ส่วนพระกรด้านชวาบางพิมพ์เห็นนิ้วชัดเจน 5 นิ้วบางพิมพ์มี 5 นิ้ว
  • พระอังสะ หมายความว่ารอยตำหนิในพิมพ์ใหญ่บางพิมพ์เช่นพิมพ์ใหญ่ไหลขีด 
  • พระนาภีร ในพระรอดหมายความว่า มีลักษณะคล้ายเบ้าขนมครก /บางพิมพ์เลือนลาง
  •  

 ลักษณะของประภามณฑลในพระรอดพิมพ์ใหญ่

  1. ปลายหอก
  2. โค้งมน 

 

มีลักษณะคล้ายใบหอก

 

ลักษณะโค้งมน

 

 ซึ่งแต่ลักษณะนี้จะต้องหาพระรอดแท้โพสรูปให้ชมกันชัดๆโดยใช้พระรอดที่ขุดพบโดยช่างเสริฐและช่างแก้วเป็นเกณฑ์เพราะสามารถตรวจสอบได้ ทางพยานวัตถุ /พยานบุคคลได้