พระรอด
เข้าสู่ระบบ | สมัครสมาชิก

สเด็จแม่เจ้าจามเทวี

เผยแพร่เมื่อวันที่ : 7 มิถุนายน 2554
อ่าน :: 13,122 ครั้ง

ประวัติพระนางจามเทวี

  นิมิตร หมายเลข 1 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 พระนางจามเทวีผู้มีพระสิริโฉมสวยงาม  จึงเป็นที่หมายปองของเจ้าเมืองทั่วไป

ที่มาของรูปภาพ  รูปเขียนของนักเขียนมีชื่อ

กำเนิด ธิดาเมืองละโว้ พระยาราม ( พระบิดา) กษัคริย์ครองเมืองละโว้ จังหวัดลพบุรีปัจจุบัน

 

ภาพเขียนในนิมิตของนักเขียนมีชื่อ เป็นภาพที่ใกล้เคียงในนิมิตมากเพราะพระนางเป็นบุคคลิกเป็นผู้นำกล้าหาญเด็ดเดี่ยว

การสร้างบ้านแปงเมือง การขยายอาณาจักรมายังเมืองลำพูน เขตมอญเก่า

 

 การสร้างบ้านแปงเมืองอันประกอบด้วยชาวเจ้า500 นักบวช 500 เสนาอำมาตย์ฤาษี

 ช่างหลวง ช่างสิบหมู่ เป็นการขยายอาณาจักร์ของลพบุรี( ละโว้ ) โดยให้พระนางจามเทวีมาครองเมืองลำพูน

 การเดินทางบกเพราะมาเป็นขบวนทัพประกอบด้วยทหารพลช้างพลม้า พลเดินเท้าเต็มขบวนทัพ

โบราณวิจารณ์ ตามบันทึกโบราณ ได้กล่าวว่าพระนางจามเทวี เสด็จทางแพ ทวนกระแสน้ำขึ้นมานั้นทางภูมิศาสตร์ขัดแย้งกันซึ่งเป็นไปไม่ได้ การเดินทัพขยายอาณาจักรต้องคุ้มความปลอดให้พระนางจามเทวีด้วย คงไม่มีใครคิดทวนกระแสน้ำขึ้นมาในสมัยนั้นยังไมมีแพยนต์ 

 

 

 การอภิเษกพระนางจามเทวีเป็นกษัคริย์ครองเมืองหริภุณไชย โดยมีนักบวชและพระฤาษีเป็นประธานในพิธี

ในงานมีการสมโภช การละเล่นพื้นเมือง การร้องรำทำเพลง และลครพื้นบ้าน

 

 พระนางจามเทวี ประสูติพระโอรสฝาแฝด ไดัแก่ เจ้าชายอนันต์ยศ และเจ้าชายมหันตยศ

พระโอรสฝาแฝด ของพระนางจามเทวี

 

 

 โอรสฝาแฝดอถิเษกสมรส

ต่อมาพระโอรสทั้งสองทรงเจริญวัย เติบโตขึ้นมาได้ช่วยงานพระราชมารดาในด้านการเมือง/การทหาร/ ด้านศาสนา

ได้ด้านการทหารโดดเด่นมาได้ทรงช้างคู่บารมี( ช้างปู๋ก๋ำงาเขียว  )ออกไปรบกับข้าศึกและได้รับชัยชนะทุกครั้ง

ส่วนด้านการศาสนนั้นได้ทรงสร้างพระรอดร่วมกับพระฤาษีนารรอท ( Narata  )โดยเสด็จพระราชดำเนินแทนพระราชมารดา ในการประกอบพิธี  พระโอรสทั้งสองทรงเป็นที่โปรดปรานของ พระฤาษีมากเพราะได้สั่งสอนประสิทธิประสาทวิชาคงกระพันชาตรี  /คาถาล่องหนหายตัว/การใช้ศาสตราวุธ ทุกชนิด

         ต่อมาได้ขยายอาณาจักรมายังหัวเมืองข้างเคียง พระอนัตยศได้มาครองเมืองเขลางค์นคร (ลำปาง  ) และได้นำดินขาวมาสร้า้งพระรอดขาว (   สมาธิของอาจารย์เจมส์  ) และได้ดินขาวที่ลำปางมาสร้างพระรอดขาว

 

 

 นำช้างสักดิ์สิทธิ์ ( ช้างปู้กำ๋งาเขียว  )ออกรบชนะทุกครั้ง

 

 

ช้างศักดิ์สิทธิ์คู่บารมี

 

ช้างศักดิ์สิทธิ์คู่บารมี   ชาวบ้านเรียกว่า ช้างปู๋กำ๋งาเขียวสร้างจำลองที่ด้านข้างอนุสาวรีย์พระนางจามเทวี อ.เมือง จังหวัดลำพูน

 เป็นลักษณะช้างพลายตัวสูงใหญ่  มีลักษณะพิเศษคืองามีสีเขียว ส่งเสียงร้องดังแสบแก้วหู เมื่อช้างศัตรูได้ยินจะวิ่งหนีเตลิดออกไป ไม่เป็นขบวนทัพ

 

 

 พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน สันนิษฐาน จากนักพุทธศิลป์ และนักศิลปะ ว่าสร้างโดยช่างหลวงและได้มีรูปช้างศักดิ์สิทธ์ปรากฏในองค์พระเพื่อความยิ่งใหญ่และความขลัง

 

 

 รูปภาพสะเก็ดที่พระอุระด้านซ้ายของพระรอดพิมพ์ใหญ่( พิมพ์เครื่องราช)

 

 

กู่ช้าง/กู่ม้า

หลังจากช้างศักดิ์สิทธิ์ได้เสียชีวิตลงได้ทรงโปรดให้สร้างกู่ช้างและเป็นที่นับถือของชาวเมืองลำพูนมาจาก 1,300 ปีจนถึงปัจจุบัน

 เป็นสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ อีกด้วย

ม้าแก้วคู่บารมี

ไก้แก้วคู่บารมี

 

 

 ขยายอำนาจการปกครองไปหัวเมืองต่างๆ เจ้าชายอนันคยศ  เสด็จไปครองนครลำปางตามพระราชประสงค์ของพระราชมารดา ตามคำเชิญของเจ้าเมือง

 

 

การเมืองการปกครอง โดยมีพระฤาษีช่วยในด้านการทหารการเมืองและประเพณีวัฒนธรรม 

 ได้ระดมกำลังทั้งทหารประชาชน ช่วยกันสร้างเมืองใหม่ตั้งชื่อว่าเชลางค์นคร( ลำปาง )และได้สร้างพระธาตุหลวงลำปาง

 

การศาสนา

 

 เทวรูปดินเผาศิลปะเขมรที่สร้างในสมัยพระนางจามเทวี ค้นพบที่วัดมหาวัน โดยหนานแสง อินตะแสง(ตานายต้อม   )

 

พระดินเผาศิลปะทวาราวดี ค้นพบที่ยริเวณหลังโรงพยาบาลลำพูน โดยช่างเสริฐในขณะที่ทำร่องระบายน้ำเสียของโรงพยาบาลทสันนิษฐานสร้างในสมัยพระนางจามเทวี เป็นพระแม่แบบในการพิจารณาความเก่าในผิวพระรอด/พระคงและพระตระกูลลำพูน  คราบธรรมชาติมีลักษณะตรงกับพระเนื้อดินที่ค้นพบในภาคอีสาน

 

 

 

 

เกี่ยวกับโบราณสถานแลพระพระเครื่อง

 

 

 

 

 

 

 

ที่มาของภาพ พิูพิธภัณฑฺ์สถานแห่งชาติ  ลำพูน

 

 

เจดีย์กู่กุด วัดจามเทวี ที่สร้างและบูรณะในสมัยพระยาสรรพสิทธิ์ พุทธศตวรรษที่ 17 หลังจากที่แผ่นดินไหวอย่างรุนแรงตามบันทึกของศิลาจารึก

 

 พระเจดีย์กูกุดวัดจามเทวีสร้างบูรณะใหม่ ในพุทธศควรรษที่ 17

 

 วัตถุโบราณที่ค้นพบที่เมืองเถาะ อ.จอมทอง จังหวัดเชียงใหม่

 

 วัตถุโบราณที่ค้นพบที่เมืองเถาะ อ.จอมทอง จังหวัดเชียงใหม่

วัตถุโบราณที่ค้นพบที่เมืองเถาะ อ.จอมทอง จังหวัดเชียงใหม่