พระรอด
เข้าสู่ระบบ | สมัครสมาชิก

ชนิดหลังของพระรอดวัดมหาวัน

เผยแพร่เมื่อวันที่ : 4 สิงหาคม 2554
อ่าน :: 16,952 ครั้ง

ชนิดหลังของพระรอดวัดมหาวัน หมายความว่าหลังของพระรอดวัดมหาวัน นั้นถ้าศึกษากันให้ลึกซึ้งแล้ว เป็นสิ่งที่ทำขึ้นมาใหม่แทบไม่ได้จากงานวิจัยพระรอดเก้ จำนวนกว่า 100 กว่าฝีมือปรากฏว่ายังห่างพระรอดแท้มากๆ เพราะมีปัจจัยในการทำและปรัญชานั้นคนละเรื่องกับพระรอดล้อพิมพ์  ชนิดชองหลังพระรอด ต่างที่ค้นพบมีดังต่อไปนี้

  1. ชนิดหลังเรียบ
  2. ชนิดหลังนูน
  3. ชนิดหลังเป็นร่อง
  4. ชนิดหลังจีบ ( หลังเสือ )
  5. ชนิดหลังย่น
  6. ชนิของลายมือมีลักษณะใหญ่

เซียน โบราณ ได้ คำนิยามร่าพระรอดนั้นดูหลังก็ทราบทันที ว่าแท้หรือเก้ 

สรุปหลังพระรอดแท้ ปลอมยากที่สุดเท่าที่ได้ศึกษาพระรรอดเก้ กว่า 100 กว่าฝีมือ รองลงมาจากเนื้อพระรอด และพิมพ์พระ

 เซียนโบราณที่เก่งมีความเชี่ยวชาญเรื่องพระรอดบางทีดูฌฉพาะหลังอย่างเดียวก็รู้ว่าเป็นพระรอดแท้

มีข้อที่พึงสังเกตูได้ดังนี้

  1. คราบความเก่าที่เข้าไปเกาะในร่องลายมือ
  2. สีของพระจะมีลักษณะเก่าหรือสีมอ
  3. มักจะมีคราบปรอทเกาะทดสอบโดยการถ่ายรูป
  4. คราบแคลเซี่ยม
  5. ลักษณะลายมือ
  6. แรงที่ใช้กดพระ
  7.  

 ชนิดหลังนูน

 

 ชนิดหลังนูน

 

 ชนิดหลังย่น แสดง คราบปรอทและคราบแคลเซี่ยม

 

            หลังนูน

 

 

                                 ชนิดหลังนูน

 

                                    ชนิดหลังนูน/ย่น

 

                               ชนิดหลังนูน/ย่น คราบน้ำว่าน

 

                                                ชนิดหลังนูน /ย่น

 

 

                      ชนิดนูนหลังเต่า ความย่นของเนื้อพระ

 

                          ชนิดหลังนูนหลังตะพาบน้ำ

 

 ชนิดหลังจีบ หรือหลังเสือ มักมีในพระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์เสี้ยนไม้ 

 

                                       ชนิดหลังเป็นแอ่ง

 

                                      ชนิดหลังย่น

 

                                   หลังตะพาบน้ำแคลเซี่ยมเกาะ

 

 พลังนูนคราบปรอทความแห้งเนื้อพระ แท้สีมันปู

 

 หลังย่น

 

 หลังนูนหลังเต่า

 

 หลังนูน

 

 

 หลังนูน

 

 

 

 

หลังนูน

           ข้อมูลเปรียบเทียบพระตลาดกับพระรอดแท้

 

ด้านหลังแท้เก้ หนังคนละม้วน

 

ด้านหลังแท้เก้

 

ด้านหลังแท้เก้

 

ด้านหลังแท้เก้