พระรอด
เข้าสู่ระบบ | สมัครสมาชิก

ลักษณะลายมือบนหลังพระรอดวัดมหาวัน

เผยแพร่เมื่อวันที่ : 4 สิงหาคม 2554
อ่าน :: 11,661 ครั้ง

ลักษณะลายมือบนหลังพระรอดวัดมหาวัน หมายความว่า ลายมือพระฤาษีหรือผู้ปั้นพระรอดพวกช่างหลวงนั้นมักจะมีลักษณะโดดเด่น และเป็นเอกลักษณ์ จะแตกต่างกับพระรอดเก้ ทั่วๆไปในตลาดพระ จากการตรวจสอบพระรอดแท้โดยการจดทะเบียนพระแท้ ทั่วประเทศ ของสถาบันอนุรัก์พระเครื่องพระบูชาไทย  พบว่า มีพระรอดแท้จำนวนน้อยมากที่อยู่ในตลาดพระ   การจัดอบรมและจดทะเบียนพระแท้ที่จังหวัดกรุงเทพมหาคร(โรงแรมรัตน์โกสินทร์   ) และ จังหวัดทางภาคอีสานนั้น การจดทะเบียนรับรองพระแท้พระรอดแทบจะนับองค์ได้   จึงมีลักษณะโดดเด่นที่พอจะสังเกตุได้ดังต่อไปนี้ (การจดทะเบียนพระแท้นั้นทำให้สามารถแยกแยะพระได้ว่า พระนั้นมีคุณสมบัติที่ต่างกันอย่างไร? และยังเป็นการอนุรักษ์ เป้องกันมรดกโลก (save  and conservative )การทำลายพระแท้อีกประการหนึ่ง)

  1. ลายมือมีลักษณะใหญ่กว่าคนปกติ
  2. ร่องลายมือปรากฏเนื้อเกิน( มดผดปรากฏ ) 
  3. ลายมือมักจะชันขึ้น 45 องศา ค้นพบในพระรอดเกือบทุกพิมพ์
  4. คราบน้ำปูนในร่องลายมือ 
  5. ลายมือเลือนลางเกิดจาการปั้นและกดพิมพ์พระรอดมากหลายๆองค์ทำให้ลายมือสึก
  6. ความเหี่ยวย่นคล้ายหนังคนแก่หรือหนังช้าง

 

 

                                    ด้านหลังพระรอด หลังอูม

 

                                         ด้านหลังพระรอด ชนิดหลังอูม

 

  ด้านหลังพระรอด หลังเต่า

 

  ด้านหลังพระรอด หลังเต่า

 

 ด้านหลังพระรอด หลังก้นเป็ด

 

 ด้านหลังพระรอด หลังตะพาบน้ำ

 

 

 ด้านหลังพระรอด หลังรูด

 

 

 ชนิดหลังนูน

 

 

 หลังนูน/ย่น

 

 นูนหลัง้เต่า

 

 ชนิดหลังย่น

 

หลังดูง่าย

 

 ด้านหลังอูมหลังเต่า

 

 

หลังดูง่าย

 

 

เปรียบเทียบแท้เก้ชัดๆ เทียบลายมือ และทีของการกด

 

เปรียบเทียบแท้เก้ ระหว่างพระรอดแท้กับพระอุโมงค์

 

เปรียบเทียบแท้เก้ กับพระตลาดกับพระรอดแท้

 

ลักษณะหลังย่น เหี่ยวยุบ ย่น ย่อ หนังช้างนี่ครบสูตรจริง

 

 

แสดงคราบแคลเซี่ยม คราบปรอท ที่เฟคกับ กล้อง ดิจิตอล