พระรอด
เข้าสู่ระบบ | สมัครสมาชิก

อาณาจักรหริภุญไชย เปรียบเทียบพระรอดพ.ศ13-17 สมัยพระนางจามเทวี/สมัยพระยาสรรพสิทธิ์

เผยแพร่เมื่อวันที่ : 22 มีนาคม 2555
อ่าน :: 12,138 ครั้ง

รูปภาพหลักฐานการค้นพบวัตถุโบราณ โดยการบังเอิญ ( การขุดอ่างเก็นน้ำในหมู่บ้าน)พบอิฐโบราณวัตถุพระพุทธรูปศีลปะทวาราวดีและพระเครื่องจำนวนที่เปิดเผยไม่ได้  อาจะเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ดลใจของศักดิ์สิทธิหรือปัจจัยอื่นๆก็ตามที่ทำให้พบหลักฐานหลายอย่างที่ตรงกัน กับวัตถุโบราณที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติจังหวัดลำพูน  /กรมศิลปกร  จังหวัดเชียงใหม่ได้ลงความเห็นว่าเป็นวัดหลวงของอาณาจักรจามเทวี ชื่อเมืองเถาะ เป็นหัวเมืองใหญ่ทางทิศใต้ของอาณาจักรหริภุญไชย และเป็นเมืองที่ได้กล่าวอ้างอิงในประวัติศาสตร์ ของหริภุญไชย ในราวพุทธศตวรรษที่ 13

 

 

  บริเวณที่ใช้ขุดเป็นอ่างเก็บน้ำที่เล่าจากชาวบ้านเล่ากันว่าเป็นบริเวณที่ เกิดมหัศจรรย์ บ่อยครั้ง ทางภาษาทางพื้นเมืองว่าผีกั่น(เหี้ยนผีดุ ) และเป็นที่แรงจนไม่มีผู้คนไปสร้างที่อยู่อาศัยบริเวณนั้น ถ้าไม่มีบุญบารมีก็มีอันเป็นไปเจ็บป่วยล้มหายตายจาก  ถือว่าเป็นอาณาเขตอาถรรพ์ศักดิ์สิทธิ์ จึงมีสภาพเป็นหนองน้ำเก่าๆ เป็นป่ารก ไม่มีใครกล้าเข้าไปหาปลาหรือทำมาหากิน จน อบต.เห็นว่าน่าจะพัฒนา เป็นหนองน้ำสาธารณะ และก็พบโบราณวัตถุโบราณดังกล่าวที่พบโดยการบังเอิญ 

 

อิฐที่ค้นพบสันนิษฐานว่าเป็นฐานพระเจดีย์องค์ใหญ่ ของหัวเมืองหลักเป็นวัดหลวงจึงค้นพบหลักฐานที่ใกล้เคียงศิลปะที่ค้นพบที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติจังหวัดลำพูน

 

 ความลึกจากระดับพื้นดินประมาณ 6 เมตรกว่า เนื่องจาการยุบตัวของแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ในสมัยพระยาสรรพสิทธิ์ ตังปรากฏไว้ในศิลาจารึก( ทีพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติจังหวัดลำพูน )ได้บันทึกไว้ ทำให้บริเวณกระจากรัศมีออกไปยังใกล้เคียงกับเหตุการณ์เปรียบเทียบ พระอารามหลวงที่เวียงกุมกามจังหวัดเชียงใหม่ หรือแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ ปีพุทธศรรตวรรษที่ 17 ดังปรากฏในศิลาจารึก ในการส้รางบูรณะเจดีย์กู่กุด ที่วัดจามเทวี อ.เมือง จังหวัดลำพูน

 

 พบต้นตะเคียนขนาดใหญ่ หรือเจ้าแม่ตะเคียนทอง ได้มีชาวบ้านไปขอขมาจะเห็นพานวางอยู่ด้านบน กดขยาย 200 เท่า จะเห็นชัดเจน

 

 อิฐโบราณที่มีก้อนขนาดใหญ่เท่ากับการค้นพบที่วัดจามเทวี/วัดดอนแก้ว/วัดพระคงฤาษี จาการบอกกล่าของชาวบ้านทราบว่าได้พบรอยเท้าสุนัขขนาดใหญ่ ที่ประทับลงไปบนแผ่นอิฐ เป็นพยานวัตถุชิ้นนี้ไปตรงกับนิมิตรที่อาจารย์อรรคเดช  กฤษณะดิลก ว่าเป็นสุนัขสงคราม มีลำตัวขนาดใหญ่สีดำขนสั้นขนาดพอๆกับสุนัขพันธ์ รอ๊คไวท์เลอร์ของฝรั่ง แต่มีความแข็งแรงกว่า ลงอักขะศรีษะเต็มตัวเขี้ยวแหลมคม ( ถ้ามีโอกาสจะได้รูปภาพสะเก็ดให้ชมกัน

 

 

นิมิตหมายเลข 2 

 

 

 สนักสงคราม1

 

 

 ตรงกัยศิลาจารึกในสมัยที่ใกล้เคียงกัน

 

 สุนัขสงครามในสม้ยเมื่อ 1300 ปี 

 

 เศษวัตถุโบราณที่เจ้าหน้ากรมศิลปากรจังหวัดเชียงใหม่ที่นำมาผูกลำดับหมายเลขที่แยกเป็นหมวดหมู่

 

 เศษวัตถุโบราณที่เจ้าหน้ากรมศิลปากรจังหวัดเชียงใหม่ที่นำมาผูกลำดับหมายเลขที่แยกเป็นหมวดหมู่

 ตู้โชว์วัตถุโบราณที่ค้นพบที่เก็บไว้ในพระอุโบสถ

 เศษวัตถุโบราณที่เจ้าหน้ากรมศิลปากรจังหวัดเชียงใหม่ที่นำมาผูกลำดับหมายเลขที่แยกเป็นหมวดหมู่

 นำเศษวัตถุดังกล่าวไปสอบที่กรมศิลปากร ปรากฏว่าสร้างในสมัยพระนางจามเทวี

ตรงกับประวัติศาสตร์ได้พูดถึงเมืองเถาะที่ดูแลไปจนถึงเมืองฮอด 

 เป็นศิลปะทวาราวดีและหริภุญไชย

 

 พบคนโทโบราณ ภายในบรรจุของมีค่าได้แกพระเครื่องและแก้วแหวนเงินทองของมีค่าของกษัตริย์

 

 คนโทใบมีขนาด ความสุงประมาณ30-40 เซ็นติเมตร  ถ้าบรรจะพระรอดพระคงจะบรรจุได้ประมาณ 1,000 ขึ้นไป นี้น่าจะบรรจุพระเครื่องมีค่าแน่นอนกำลังประสานงานอยู่ว่าอยู่ที่ใคร ?บ้าง

จะต้องรวบรวมนำมาสร้างพิพิภัณฑ์ เมืองเถาะ(สองแคว) ซึ่งมีการประสานงานอยู่

 

 เปรียบเทียบเคียงศิลปะที่ค้นพบที่วัดมหาวันและพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ

 

 พระพุทธรูปดินเผา ศิลปะทวาราวดี แสดงเม็ดผด (grain  )ทั่วองค์พระMasterpeice ในการพิจารณาพระเนื้อดิน สถานที่ค้นพบหลังโรงพยาบาลลำพูนซึ่งอยู่ในอาณาจักรชองวัด

 

ชมวัตถุโบราณได้ที่วัดสองแคว อ .จอมทอง จังหวัดเชียงใหม่

 

 

       ข้อมูลเปรียบเทียบพระรอดที่สร้างในสมัยพระนางจามเทวีพุทธศตวรรษที่ 13  กับพระรอดที่สร้างในสมัยพระยาสรรพสิทธิ์ พุทธษควรรษที่ 17 

มีความแตกต่างทางกายภาพ (  physical)ดังต่อไปนี้

  1. ความคมชัดลึกของพิมพ์ ( clear  )
  2. ความผุพังของผิวพระโดยแร่ธาตุในดิน ( Mineral   )
  3. คราบแคลเซี่ยม ที่เกาะในผิวที่ลึกและแน่นกว่า( calcuim )
  4. ขนาดสมัยพระนางจามเทวี  มีขนาดที่เขื่องกว่า  (  Bic size more ) สมัยพระยาสรรพสิทธิ์
  5. ความหดเหี่ยวย่น ( Shorten ) จะมีความหดเหียวมากกว่า
  6. นำหนัก   ( weight ) หนักกว่า
  7. สภาพที่ผันแปรเป็นหิน  ( Shale ) ดินดาน หรือที่เรียกว่าเนื้อผ่าน
  8. ขนาดของเกรน  (  grain )หรือเม็ดผดในหลักของธรณีวิทยา ( geology   )
  9. การกัดกร่อนโดยน้ำใต้ดิน (Erode  )
  10. การควบแน่นของโมเลกุล (  Molecule  )

 

 Clear คมชัดลึก เม็ดผดรอบองค์พระ พ.ศ 13   

 

  1. ความคมชัดลึกของพิมพ์ ( clear  )
  2. ความผุพังของผิวพระโดยแร่ธาตุในดิน ( Mineral   )
  3. คราบแคลเซี่ยม ที่เกาะในผิวที่ลึกและแน่นกว่า( calcuim )
  4. ขนาดสมัยพระนางจามเทวี  มีขนาดที่เขื่องกว่า  (  Bic size more ) สมัยพระยาสรรพสิทธิ์
  5. ความหดเหี่ยวย่น ( Shorten ) จะมีความหดเหียวมากกว่า
  6. นำหนัก   ( weight ) หนักกว่า
  7. เนื้อ โซน ผงหิน 
  8. ขนาดของเกรน  (  grain )หรือเม็ดผดในหลักของธรณีวิทยา ( geology   )
  9. การกัดกร่อนโดยน้ำใต้ดิน (Erode  )
  10. การควบแน่นของโมเลกุล (  Molecule  )

 

เกรน(  grain ) ขยายภาพให่เห็นรายละเอียดพิมพ์เทวดา

 

 Grain ขยายรายละเอียด พิมพ์ไหล่ยก 

 

Dry ความแห้ง ในพิมพ์โพธิ์ฉีก

 

 เม็ดผดหรือ เม็ดเกรน มีขนาดใหญ่กว่า พิมพ์เทวดาแข็งลาย 

 

  1. ความคมชัดลึกของพิมพ์ ( clear  )
  2. ความผุพังของผิวพระโดยแร่ธาตุในดิน ( Mineral   )
  3. คราบแคลเซี่ยม ที่เกาะในผิวที่ลึกและแน่นกว่า( calcuim )
  4. ขนาดสมัยพระนางจามเทวี  มีขนาดที่เขื่องกว่า  (  Bic size more ) สมัยพระยาสรรพสิทธิ์
  5. ความหดเหี่ยวย่น ( Shorten ) จะมีความหดเหียวมากกว่า
  6. นำหนัก   ( weight ) หนักกว่า
  7. เนื้อโซนผงหิน  
  8. ขนาดของเกรน  (  grain )หรือเม็ดผดในหลักของธรณีวิทยา ( geology   )
  9. การกัดกร่อนโดยน้ำใต้ดิน (Erode  )
  10. การควบแน่นของโมเลกุล (  Molecule  )
  11.  

 

 คมชัดลึก  clear พิมพ์นี้ค้นพบที่วัดมหาวันและ เมืองเถาะ

 

  1. ความคมชัดลึกของพิมพ์ ( clear  )
  2. ความผุพังของผิวพระโดยแร่ธาตุในดิน ( Mineral   )
  3. คราบแคลเซี่ยม ที่เกาะในผิวที่ลึกและแน่นกว่า( calcuim )
  4. ขนาดสมัยพระนางจามเทวี  มีขนาดที่เขื่องกว่า  (  Bic size more ) สมัยพระยาสรรพสิทธิ์
  5. ความหดเหี่ยวย่น ( Shorten ) จะมีความหดเหียวมากกว่า
  6. นำหนัก   ( weight ) หนักกว่า
  7. เนื้อพระ โซน ดินดิบ(เผาไม่สุก สีดอกพิกุล  ) 
  8. ขนาดของเกรน  (  grain )หรือเม็ดผดในหลักของธรณีวิทยา ( geology   )
  9. การกัดกร่อนโดยน้ำใต้ดิน (Erode  )
  10. การควบแน่นของโมเลกุล (  Molecule  )
  11.  

 shale  หินดินดาน  เนื้อผ่าน หรือเขียวคาดเหลืองพิมพ์หน้าพระสิงห์

 

  1. ความคมชัดลึกของพิมพ์ ( clear  )
  2. ความผุพังของผิวพระโดยแร่ธาตุในดิน ( Mineral   )
  3. คราบแคลเซี่ยม ที่เกาะในผิวที่ลึกและแน่นกว่า( calcuim )
  4. ขนาดสมัยพระนางจามเทวี  มีขนาดที่เขื่องกว่า  (  Bic size more ) สมัยพระยาสรรพสิทธิ์
  5. ความหดเหี่ยวย่น ( Shorten ) จะมีความหดเหียวมากกว่า
  6. นำหนัก   ( weight ) หนักกว่า
  7. สภาพที่ผันแปรเป็นหิน  ( Shale ) ดินดาน หรือที่เรียกว่าเนื้อผ่าน
  8. ขนาดของเกรน  (  grain )หรือเม็ดผดในหลักของธรณีวิทยา ( geology   )
  9. การกัดกร่อนโดยน้ำใต้ดิน (Erode  )
  10. การควบแน่นของโมเลกุล (  Molecule  )
  11.  

 เนื้อหินดินดาน ( เขียวคาดเหลือง )พิมพ์ใหญ่ มือซ้อน

 

 ขนาด เขื่อง กว่า สมัย สรรพสิทธิ์ size พิมพ์บ๊อลค์แตก

 

  1. ความคมชัดลึกของพิมพ์ ( clear  )
  2. ความผุพังของผิวพระโดยแร่ธาตุในดิน ( Mineral   )
  3. คราบแคลเซี่ยม ที่เกาะในผิวที่ลึกและแน่นกว่า( calcuim )
  4. ขนาดสมัยพระนางจามเทวี  มีขนาดที่เขื่องกว่า  (  Bic size more ) สมัยพระยาสรรพสิทธิ์
  5. ความหดเหี่ยวย่น ( Shorten ) จะมีความหดเหียวมากกว่า
  6. นำหนัก   ( weight ) หนักกว่า
  7. โซนเนื้อดินดิบ  
  8. ขนาดของเกรน  (  grain )หรือเม็ดผดในหลักของธรณีวิทยา ( geology   )
  9. การกัดกร่อนโดยน้ำใต้ดิน (Erode  )
  10. การควบแน่นของโมเลกุล (  Molecule  )